Page 55 - kpiebook62015
P. 55

ชุมชน ต้องเป็นผู้ประสาน ทั้งหน่วยงาน ทรัพยากร และความคิดของสมาชิกและชุมชน ส่งเสริม
                        และให้โอกาสแสดงความคิดเห็น ไม่ผูกขาดความคิดหรือเป็นเจ้าของชุมชน  ให้ทุกคนมีส่วนร่วม

                        ด้วยวิธีการต่าง และให้เกิดความรู้สึกร่วมของกลุ่มของชุมชนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
                                ผู้น าอาจเป็นผู้น าทางความคิด หรือผู้น าทางการกระท าตนเป็นแบบอย่าง หรือเป็นผู้น า

                        ในการขับเคลื่อนผลักดันเพื่อความเปลี่ยนแปลง และอาจมีลักษณะทางการและไม่เป็นทางการ

                        ผู้น าในการเสริมสร้างพลังพลเมืองต้องสามารถเสริมสร้างความเป็นพลเมืองประชาธิปไตยให้
                        เกิดขึ้นในหมู่มวลสมาชิก และรวมถึงการบริหารจัดการชุมชนของแกนน าที่ต้องมีความสุจริต ท า

                        จริง และตรวจสอบได้ด้วย (เข็มชาติ โภคาเทพ,สัมภาษณ์, 13 มิถุนายน 2561)


                        องค์ความรู้ชุดที่ 3

                                หลักการประชาธิปไตย -  Foundations of Democracy
                                การเสริมสร้างความเป็นพลเมืองประชาธิปไตย หมายถึงการยึดหลักประชาธิปไตยทั้ง

                        ในทางความคิดและการปฏิบัติ ได้แก่ การฟังเสียงข้างมากและการเคารพเสียงข้างน้อย การ

                        ยอมรับความแตกต่างหลากหลายของความคิดและความแตกต่างทางกายภาพหรือฐานะทาง
                        สังคม การไม่เลือกปฏิบัติ การให้ความส าคัญต่อความเสมอภาคเท่าเทียม  ในชุมชนประชาธิปไตย

                        กระบวนการประชาธิปไตยต้องเป็นส่วนส าคัญในทุก ๆ กระบวนการ
                                องค์ความรู้หลักการประชาธิปไตยเพื่อความรู้ ความเข้าใจ ต่อหลักการประชาธิปไตยจึง

                        ส าคัญในฐานะแนวทางในการด าเนินชีวิตของสมาชิกชุมชนหรือสังคมนั้น  หลักการประชาธิปไตย

                        ที่แม้เป็นแนวคิด กระบวนการ อุดมการณ์ หากเมื่อน าไปสู่วิถีชีวิต หลักการเหล่านั้นควรเรียบง่าย
                        กลมกลืนเข้ากับวัฒนธรรมและความคุ้นเคย เช่น การน ารากฐานประชาธิปไตย ในบริบทไทยที่

                        พัฒนาจากครูและภาคประชาสังคมที่เข้าใจบริบทวัฒนธรรมและสังคมไทยเป็นอย่างดี  ดังข้อมูล
                        จากพื้นที่ โดยกลุ่มแกนน าใน ต. สว่าง อ.โพนทอง ไปใช้ในการด าเนินชีวิต และน าไปหลักการง่าย

                        ๆ ในการประเมินผู้สมัครรับเลือกตั้งในชุมชน (จตุพล ค าแดงไสย, สัมภาษณ์, 13 มิถุนายน 2561)


                        องค์ความรู้ชุดที่ 4

                                การมีส่วนร่วม เป้าหมายร่วม และ พื้นที่สาธารณะ

                                องค์ความรู้การมีส่วนร่วมในโครงการปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมือง หมายถึงการที่
                        สมาชิกเข้ามีส่วนร่วมกับชุมชนที่จะร่วมกันจัดการกับปัญหาของชุมชน ผนึกก าลังร่วมกัน ไม่ต่าง

                        คนต่างท า เอื้อประโยชนต่อสมาชิกชุมชนทุกคน มุ่งการพึ่งตนเองและมุ่งพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

                        การเข้ามีส่วนร่วมในที่นี้ทั้งในระดับชุมชน สังคม และภาครัฐ ทั้งในระดับความคิด การกระท า




                                                               44
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60