Page 18 - kpiebook65020
P. 18
iv
เชื่อว่าการค าถามทั้ง 10 ข้อ ใน OECD Checklist นั้นไม่ได้มีซับซ้อนและมีความเหมาะสมกับทั้งประเทศ
พัฒนาและก าลังพัฒนาที่ต้องการรับแนวคิดการจัดท า RIA เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการออกกฎหมาย
และกฎ ในปี 2017 OECD ประสบความส าเร็จในการส่งต่อแนวคิด RIA ให้กับประเทศสมาชิก OECD ทั้ง 37
ประเทศ อาจจะกล่าวได้ว่า ในปัจจุบัน RIA ได้รับการยอมรับอย่างมากในบริบทสังคม จากการศึกษาการจัดท า
RIA ในหลายประเทศพบว่า แม้แต่ละประเทศจะมีวิธีการด าเนินการจัดท า RIA แตกต่างกันออกไปตาม
วัตถุประสงค์และข้อจ ากัดของแต่ละประเทศ แต่ถึงกระนั้นก็อาจจะสามารถระบุขั้นตอนการจัดท า RIA ที่ส าคัญ
ที่เป็นขั้นตอนที่ทุกประเทศใช้อย่างเดียวกัน กล่าวคือ (1) การก าหนดปัญหา (2) ก าหนดวัตถุประสงค์ (3)
ก าหนดทางเลือกนโยบาย (4) ประเมินและวิเคราะห์ผลกระทบแต่ละทางเลือก (5) เปรียบเทียบทางเลือก และ
(6) ก าหนดแนวทางในการประเมินตรวจสอบ
การตรวจสอบความจ าเป็นและการวิเคราะห์ผลกระทบในการตรากฎหมาย จึงเป็นเครื่องมือส าคัญใน
การพัฒนาคุณภาพของกฎหมาย เพราะได้ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐระบุและประเมินผลกระทบที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นจากกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เสนอ และด าเนินการวิเคราะห์บนพื้นฐานของข้อมูลและข้อเท็จจริง
ดังนั้น กฎหมายที่ผ่านกระบวนการตรวจสอบความจ าเป็นและการวิเคราะห์ผลกระทบในการตรากฎหมายแล้ว
จะเป็นที่ยอมรับจากประชาชน เพราะกฎหมายดังกล่าวได้ผ่านการวิเคราะห์อย่างรอบด้าน และได้มีการซักถาม
ชี้แจง ถกเถียง ตลอดจนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อมูลจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องแล้ว
1.2 ความรู้พื้นฐานว่าด้วยนิติเศรษฐศาสตร์ (Law and Economics)
นิติเศรษฐศาสตร์ หรือ Law and Economics เป็นศาสตร์ผสมผสานที่เกิดจากการน าเอา
แนวความคิดทางเศรษฐศาสตร์มาใช้อธิบายและวิเคราะห์ระบบกฎหมาย โดยหลักการเศรษฐศาสตร์ที่น ามา
ปรับใช้นั้นไม่ใช่สูตรค านวณทางตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับระบบเศรษฐกิจ แต่เป็นหลักการทางเศรษฐศาสตร์ที่
อธิบายถึงพฤติกรรมของมนุษย์และการจัดสรรทรัพยากรในสังคม โดยกฎหมายในมุมมองทางเศรษฐศาสตร์เป็น
เครื่องมือที่เข้ามาขับเคลื่อนกลไกทั้งหมดของระบบเศรษฐกิจ ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงแม้เพียงเล็กน้อยในตัวบท
กฎหมายก็จะส่งผลต่อกลไกของระบบเศรษฐกิจด้วยเช่นกัน โดยความรู้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์สามารถน าไป
ปรับใช้กับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายและการวิเคราะห์ผลกระทบของร่างกฎหมายได้หลาย
ประการ เช่น ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) ระบบตลาด (Market system) ประสิทธิภาพแบบ
พาเรโต (Pareto Efficiency) และการใช้แบบจ าลองทางเศรษฐศาสตร์ในการวิเคราะห์ปัญหา เป็นต้น
หัวใจหลักของวิชาเศรษฐศาสตร์คือการคัดเลือกวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในทรัพยากรที่จ ากัด
โดยใช้วิธีการสร้างแบบจ าลองหรือโมเดลในการศึกษาเพื่อใช้ในการอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจและ
สังคม เมื่อนักเศรษฐศาสตร์สร้างแบบจ าลองส าเร็จจึงน าไปปรับใช้กับข้อมูลที่เกิดขึ้นในโลกจริงว่าแบบจ าลองมี
ความแม่นย้ าแค่ไหน หากไม่แม่นย้ าก็จะท าการปรับเปลี่ยนแบบจ าลองนั้นต่อไป แบบจ าลองใดที่ไม่ถูกต้องจะ
6
ถูกละทิ้งและสร้างแบบจ าลองใหม่ ๆ ขึ้นมาทดแทน อย่างไรก็ตาม ในการปรับใช้แบบจ าลองเหล่านี้ ผู้ใช้งาน
from interested parties such as affected businesses and trade unions, other interest groups, or other
levels of government.
(10) How will compliance be achieved? Regulators should assess the incentives and institutions through
which through which the regulation will take effect, and should design responsive implementation
strategies that make the best use of them.
6
ชยันต์ ตันติวัสดาการ, เศรษฐศาสตร์จุลภาค: ทฤษฎีและการประยุกต์, (กรุงเทพ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
2552), น.11.