Page 19 - kpiebook65020
P. 19

v


               ควรพึงระลึกไว้เสมอว่าในบางครั้งแบบจ าลองก็มีข้อจ ากัดและไม่อาจวิเคราะห์ข้อเท็จจริงออกมาได้อย่าง
                                                                                                   7
               ครบถ้วนสมบูรณ์ การใช้งานแบบจ าลองเหล่านั้นนั้นเป็นเหมือนการใช้แผนที่น าทางไปสู่จุดหมาย  ความ
               น่าเชื่อถือและประโยชน์ของการใช้แบบจ าลองและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์มาวิเคราะห์ข้อมูลในความเป็นจริง
               อย่างข้อมูลในการออกกฎหมายจึงเปรียบดังการใช้แผนที่ทีดีมาน าทางให้การออกกฎนั้นสามารถบรรลุ
               เป้าประสงค์ตามที่ต้องการได้

                       1.3 การวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และทางสังคม

                       จากการศึกษาการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และทางสังคมในการออกกฎหมาย  สามารถ
               สรุปผลการศึกษาเทคนิคการวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์ และเทคนิคการวิเคราะห์ผลกระทบทาง

               สังคม ได้ดังต่อไปนี้

                              1.3.1 เทคนิคการประเมินผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์

                              เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ที่สามารถน ามาใช้ในด าเนินการในขั้นตอนการระบุและประเมิน
               เพื่อเปรียบเทียบทางเลือกทางนโยบายและประกอบการตัดสินใจคัดเลือกนโยบายเพื่อแก้ปัญหาที่ส าคัญในการ
               วิเคราะห์ RIA มีดังต่อไปนี้

                              1) การวิเคราะห์ต้นทุน Cost-Benefit  Analysis  (CBA) เป็นเทคนิคหนึ่งที่นิยมใช้กันในการ
               ด าเนินการจัดท า RIA การใช้ CBA เริ่มต้นจากการค านวณต้นทุน (Cost) และ ประโยชน์ (Benefit) ของการ

               ด าเนินการนโยบายใด ๆ นโยบายหนึ่ง จากนั้นจึงน าจ านวนต้นทุนมาเปรียบเทียบกับผลประโยชน์ของแต่ละ
               นโยบายเพื่อหักลบหาผลประโยชน์สุทธิ นโยบายใดที่มีผลประโยชน์สุทธิมากที่สุดหรือประโยชน์มากกว่าต้นทุน
               มากที่สุดคือนโยบายที่รัฐควรด าเนินการ

                              2) การวิเคราะห์ราคาคุ้มทุน หรือ Break-Even Analysis (BEA) เป็นการวิเคราะห์ถึงต้นทุน
               และผลประโยชน์ของแต่ละนโยบายเหมือนกับการวิเคราะห์แบบ CBA แต่แทนที่จะน าต้นทุนและผลประโยชน์

               มาเปรียบเทียบกับ BEA  จะเลือกนโยบายที่คุ้มต้นทุนที่สุด โดยสามารถน าไปปรับใช้ได้กับนโยบายที่มี
               ผลประโยชน์ในเชิงนามธรรม เช่น ประโยชน์ในทางศีลธรรม หรือ ประโยชน์ที่ไม่สามารถค านวณออกมาเป็น
               ตัวเลขได้แน่ชัด เช่น จ านวนคนตายจากการด าเนินการตามนโยบาย เป็นต้น

                              3) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพต้นทุน หรือ Cost-Effectiveness  Analysis  (CEA)  เป็นการ
               ค านวณว่านโยบายทางเลือกใดสามารถบรรลุเป้าหายได้โดดีต้นทุนต่อหน่วยต่ าที่สุด CEA  เป็นค านวณ

               อัตราส่วนระหว่างต้นทุนและผลประโยชน์ตามสูตรการค านวณ CEA  =  cost  (ต้นทุน) / benefit
               (ผลประโยชน์) CEA นั้นคล้ายกับการวิเคราะห์ BEA รวมถึงมีข้อดีและข้อเสียที่เหมือนกัน

                              4) การวิเคราะห์แบบพิจารณาหลายเกณฑ์ หรือ Multi-Criteria Analysis (MCA)  เป็นการ
               วิเคราะห์โดยการให้คะแนนถ่วงกับข้อดีและข้อเสียจากนโยบายแต่ละนโยบายจากนั้นจึงค านวณคะแนนที่ได้ใน

               แต่ละนโยบายเพื่อเปรียบเทียบกัน MCA นั้นแทบจะไม่ใช้ข้อมูลเชิงตัวเลขในการค านวณเลย ดังนั้นจึงสามารถ
               น าไปปรับใช้กับนโยบายที่มีต้นทุนและผลประโยชน์ที่ค านวณออกมาเป็นตัวเลขได้ยากหรือขาดข้อมูล

                              5) การค านวณภาระในการปฏิบัติกฎหมาย หรือ Standard  Cost  Model  (SCM)  เป็น
               พิจารณาเฉพาะต้นทุนการท าตามกฎหมาย (Compliance Cost) ของผู้ที่ต้องท าตามนโยบายดังกล่าว แล้วจึง



               7  เพิ่งอ้าง, น.12.
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24