Page 228 - kpiebook65064
P. 228
178 โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
5.4.5 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อยาเข้าสู่สถานพยาบาล
5.4.5 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อยาเข้าสู่สถานพยาบาล
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลักในการจัดซื้อยาเข้าสู่สถานพยาบาลประกอบด้วย
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลักในการจัดซื้อยาเข้าสู่สถานพยาบาลที่ส าคัญด้วย 1). คณะกรรมการเภสัชกรรม
1) คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด 2) แพทย์ผู้มีความประสงค์ใช้ยา และ 3) ผู้จัด
และการบ าบัด2) แพทย์ผู้มีความประสงค์ใช้ยา และ 3) ผู้จัดจ าหน่ายยาและผู้แทนยา
จำหน่ายยาและผู้แทนยา
แผนภาพที่ 5.20 สรุปมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อยาของสถานพยาบาล
แผนภาพที่ 5.20 สรุปมีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อยาของสถานพยาบาล
ที่มา: คณะผู้วิจัย
ที่มา: คณะผู้วิจัย
1. คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบ าบัด (Pharmacy and Therapeutic Committee
1. คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด (Pharmacy and Therapeutic -
PTC)
Committee - PTC)
โดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบ าบัดที่ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการอ านวยการโรงพยาบาลเป็น
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดที่ขึ้นตรงต่อคณะกรรมการอำนวยการ
องค์กรหลักด้านการใช้เวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล ประกอบด้วยผู้อ านวยการส่วนบริการรักษาพยาบาล ผู้แทน
โรงพยาบาลเป็นองค์กรหลักด้านการใช้เวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล ประกอบด้วยผู้อำนวยการ
แพทย์ทุกสาขา สาขาละ 1 คน ผู้แทนฝ่ายการพยาบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายทันตกรรม 1 คน ผู้แทนส่วนบริการ
ส่วนบริการรักษาพยาบาล ผู้แทนแพทย์ทุกสาขา สาขาละ 1 คน ผู้แทนฝ่ายการพยาบาล 2 คน
ส่งเสริมสุขภาพ 1 คน ผู้แทนส่วนสนับสนุนบริการโรงพยาบาล 1 คน ผู้แทนส่วนพัฒนาบริการโรงพยาบาล 1
ผู้แทนฝ่ายทันตกรรม 1 คน ผู้แทนส่วนบริการส่งเสริมสุขภาพ 1 คน ผู้แทนส่วนสนับสนุนบริการ
คน หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรมเป็นกรรมการและเลขานุการ และผู้แทนฝ่ายเภสัชกรรม 1 คนเป็นกรรมการและ
โรงพยาบาล 1 คน ผู้แทนส่วนพัฒนาบริการโรงพยาบาล 1 คน หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรมเป็น
28
ผู้ช่วยเลขานุการ
กรรมการและเลขานุการ และผู้แทนฝ่ายเภสัชกรรม 1 คนเป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 28
ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบ าบัดมีหน้าที่ในการ 1) ก าหนดเภสัชต ารับของ
โรงพยาบาล (hospital formulary) และมาตรฐานการใช้เวชภัณฑ์ในโรงพยาบาล 2) การอนุมัติการเพิ่มและ
ทั้งนี้ โดยทั่วไปแล้วคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดมีหน้าที่ในการ
ตัดรายชื่อเวชภัณฑ์ที่ใช้ในโรงพยาบาล 3) การศึกษาและติดตามข้อมูลด้านเวชภัณฑ์และจัดท าเป็นเอกสารที่
1) กำหนดเภสัชตำรับของโรงพยาบาล (hospital formulary) และมาตรฐานการใช้เวชภัณฑ์ใน
เป็นปัจจุบันตลอดเวลา 4) การติดตามผลการใช้เวชภัณฑ์และแก้ปัญหาด้านเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล 5) การ
โรงพยาบาล 2) การอนุมัติการเพิ่มและตัดรายชื่อเวชภัณฑ์ที่ใช้ในโรงพยาบาล 3) การศึกษาและ
บริหารและพัฒนางานเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล 6) การเป็นตัวแทนของโรงพยาบาลในการให้ข้อมูลด้าน
ติดตามข้อมูลด้านเวชภัณฑ์และจัดทำเป็นเอกสารที่เป็นปัจจุบันตลอดเวลา 4) การติดตามผลการใช้
29
เวชภัณฑ์ต่อพนักงานสอบสวนและศาล และ 7) การจัดท ารายงานด้านเวชภัณฑ์ประจ าปีของโรงพยาบาล
เวชภัณฑ์และแก้ปัญหาด้านเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาล 5) การบริหารและพัฒนางานเวชภัณฑ์ของ
คณะกรรมการPTC ของโรงพยาบาลขนาดใหญ่จะประกอบด้วยคณะอนุกรรมการ และคณะท างาน
โรงพยาบาล 6) การเป็นตัวแทนของโรงพยาบาลในการให้ข้อมูลด้านเวชภัณฑ์ต่อพนักงานสอบสวน
เช่นเดียวกันกับคณะกรรมการระบบยาแห่งชาติ และเมื่อพิจารณาในสถานพยาบาลระดับสูงขึ้นไปจะพบว่า
29
และศาล และ 7) การจัดทำรายงานด้านเวชภัณฑ์ประจำปีของโรงพยาบาล
คณะกรรมการPTC จะมีบทบาทส าคัญต่อการคัดเลือกยาเข้าสู่บัญชียาสถานพยาบาลเป็นอย่างมากซึ่ง
คณะกรรมการ PTC ของโรงพยาบาลขนาดใหญ่ประกอบด้วยคณะอนุกรรมการ
โดยทั่วไปแล้วคณะกรรมการเวชกรรมจะมีการด าเนินผ่านอนุกรรมการผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา และมักจะถือ
และคณะทำงาน เช่นเดียวกับคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ และเมื่อพิจารณาใน
ความเห็นหรือมติของคณะอนุกรรมการเป็นที่สุด แต่อย่างไรก็ตามหากคณะกรรมการมีความเห็นที่แย้งกับ
สถานพยาบาลระดับสูงขึ้นไปจะพบว่าคณะกรรมการ PTC มีบทบาทสำคัญต่อการคัดเลือกยา
อนุกรรมการย่อมสามารถมีมติเป็นไปในทางอื่นได้
28 สมชาติ โตรักษา. “หลักการและกระบวนการบริหารโรงพยาบาล,” ใน ประมวลชุดสาระวิชา 58703 การบริหาร
จัดการเพื่อการพัฒนาโรงพยาบาล เล่ม 1 (หน่วยที่ 1-5). น. 47.
อ้างแล้ว, น. 48.
29
28 สมชาติ โตรักษา. “หลักการและกระบวนการบริหารโรงพยาบาล,” ใน ประมวลชุดสาระวิชา 58703 การบริหารจัดการ
เพื่อการพัฒนาโรงพยาบาล เล่ม 1 (หน่วยที่ 1-5). น. 47.
29 บทที่ 5
อ้างแล้ว, น. 48.
สถาบันพระปกเกล้า
5-59