Page 224 - kpiebook65064
P. 224
174 โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
b. คณะอนุกรรมการต่อรองราคายาและเวชภัณฑ์ ดำเนินการต่อรองราคา
ยาและเวชภัณฑ์
c. นำผลสรุปเข้าพิจารณาในคณะกรรมการบริหารจัดการนำยาเข้า - ออก
โรงพยาบาล
d. นำผลสรุปเข้าพิจารณาในคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด
โรงพยาบาล
e. ฝ่ายเภสัชกรรมประกาศรายการยาเข้าใหม่ รายการยาที่ไม่ผ่านการ
พิจารณา รายการยาตัด รายการแข่งราคาแพ้ พร้อมแจ้งบริษัทยาเพื่อ
ทำสัญญา
4) เริ่มจำหน่ายยา
แผนภาพที่ 5.19 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการคัดเลือกและจัดซื้อยาเข้าสู่สถานพยาบาล
แผนภาพที่ 5.19 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการคัดเลือกและจัดซื้อยาเข้าสู่สถานพยาบาล
ไม่ใช้งบประมาณแผ่นดิน ใช้งบประมาณแผ่นดิน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ในการให้บริการ ในการให้บริการ กองทุนประกันสังคม
บุคลากรทางการแพทย์ สวัสดิการข้าราชการ
งบประมาณการจัดซื้อยาของ หลักทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์/ ประมวลจริยธรรมทาง
สถานพยาบาล + กรอบการใช้ แนวทางมาตรฐานการประเมิน วิชาชีพ
ยาของกองทุนสุขภาพ (ในกรณี เทคโนโลยีด้านสุขภาพ (Health
Technology Assessment - HTA)
ที่ใช้สิทธิตามประกันสุขภาพ)
แนวนโยบายหรือมาตรการ
มีผลต่อ ของสถานพยาบาล
สถานบริการ
ของภาครัฐ คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบ าบัด แนวนโยบายหรือมาตรการ
ของกระทรวงสาธารณสุข
บัญชียาหลักแห่งชาติ
บัญชียาสถานพยาบาล/การจัดซื้อ
การสั่งใช้ของแพทย์
ที่มา: คณะผู้วิจัย การส่งเสริมการขายของผู้ผลิต/ผู้จัดจ าหน่ายยา
ที่มา: คณะผู้วิจัย
3. บัญชียาของสถานพยาบาลและสิทธิประโยชน์ในระบบประกันสุขภาพ
อย่างไรก็ตามการใช้ยาในสถานพยาบาลแต่ละแห่งนั้นมีความแตกต่างกัน โดยโรงพยาบาลในสังกัดของ
บทที่ 5
รัฐจะมีการน ายาสามัญเข้าสู่บัญชียาของโรงพยาบาลมากขึ้นมีเป้าหมายเพื่อให้เกิดประสิทธิผลในการควบคุม
สถาบันพระปกเกล้า
ต้นทุน(Cost – containment) ของสถานพยาบาลทุกระดับ แทนที่จะให้สั่งจ่ายยาต้นแบบที่มีราคาสูงกว่าโดย
เปรียบเทียบ ทั้งนี้ มาตรการที่มีผลท าให้โรงพยาบาลใช้ยาสามัญมากขึ้นได้แก่การปฏิรูปสวัสดิการ
รักษาพยาบาลข้าราชการและระบบบริหารเวชภัณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขและภายหลังจากปี พ.ศ.2542 ที่
ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเกิดขึ้น มีการก าหนดการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาลด้วยวิธี
เหมาจ่ายรายหัว(capitation) จึงท าให้โรงพยาบาลมีการใช้ยาสามัญเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน
เมื่อยาเข้าสู่บัญชียาของสถานพยาบาลแล้ว การให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้ป่วยนั้นจะพิจารณาจาก
ระบบสวัสดิการที่ผู้ป่วยได้รับ ซึ่งสถานพยาบาลจะจ าแนกผู้มาขอรับบริการออกเป็น 2 ส่วนคือ (1) ผู้ที่ประสงค์
จะใช้สิทธิในการเบิกจ่ายจากราชการ (รัฐเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย) ประกอบด้วย ผู้ที่อยู่ภายใต้เงื่อนไขของ
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มีส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่าย ผู้ที่อยู่ภายใต้
5-56