Page 79 - kpiebook65064
P. 79
2.2 แนวความคิดเกี่ยวกับธรรมาภิบาลในระบบอภิบาลยาขององค์การอนามัยโลก
เนื่องจากธรรมาภิบาลเป็นปัจจัยส าคัญของการเจริญเติมโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุก
ระดับและทุกภาคส่วนของสังคม ซึ่งปัญหาการสูญญากาศทางสังคมและเศรษฐกิจ การทุจริต และความรุนแรงนั้น
ย่อมเป็นบทพิสูจน์ถึงการขาดธรรมาภิบาลที่บ่งบอกถึงความล้มเหลวของระบบอภิบาล ซึ่งWHO เห็นว่าระบบ
อภิบาล (Governance) เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรและความสัมพันธ์ของสังคมเพื่อยกระดับความ
เป็นอยู่ของสมาชิกในสังคมนั้น ๆ ส่วนธรรมาภิบาล (Good Governance) เป็นเครื่องมือที่ถูกใช้เพื่อเน้นย้ าความ
จ าเป็นของระบบอภิบาลในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามหลักนิติรัฐและมีแบบแผนปฏิบัติที่ปราศจากการทุจริต ซึ่ง
คุณลักษณะของธรรมาภิบาลประกออบด้วยการมีส่วนร่วม การมีฉันทานุมัติ การพร้อมรับผิด ความโปร่งใส การ
ตอบสนอง ประสิทธิผลกับประสิทธิภาพ ความเท่าเทียมกับความกรอบคลุม และการปฏิบัติตามกฎหมายซึ่งถ้า
ปราศจากการมีธรรมาภิบาลแล้วย่อมหมายความว่าระบบอภิบาลและนโยบายสาธารณะที่ดีย่อมถูกบ่อนท าลาย
ด้วยการทุจริต
ดังนั้นเพื่อป้องกันการทุจริตในระบบอภิบาลยา (pharmaceutical system) ทาง WHO จึงได้ออกแบบ
โครงการธรรมาภิบาลด้านยา (Good Governance for Medicines - GGM) ที่มีเป้าหมายในการลดการทุจริตใน
ระบบอภิบาลยาผ่านการประยุกต์ใช้แนวคิดความโปร่งใส การมีกระบวนการบริหารที่มีความพร้อมรับผิด และการ
ส่งเสริมให้มีการปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ทางจริยธรรม โดยGGM ได้มีขั้นตอนการปฏิบัติอยู่สามขั้นตอนได้แก่ 1). การ
ประเมินระดับความโปร่งใสในระดับชาติ (จัดท ารายงานการประเมิน) 2). การพัฒนากรอบธรรมาภิบาลด้านยา
ระดับชาติ (จัดท าโครงการธรรมาภิบาลด้านยาฉบับทางการ) และ 3). การปฏิบัติตามโครงการธรรมาภิบาลยา
ระดับชาติ (จัดท ากลยุทธ์ธรรมาภิบาลยาระดับชาติ)โดย WHO ได้จัดท ากรอบด้านธรรมาภิบาลในระบบยา: ตัว
โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
29
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
แบบโครงการธรรมาภิบาลด้านยา (A Framework for Good Governance in the Pharmaceutical
Sector – GGM Model Framework) เพื่อเป็นแนวทางทั่วไปในการพิจารณาเพื่อสร้างธรรมาภิบาลในระบบ
25
อภิบาลยา
แผนภาพที่ 2.1 ขั้นตอนการปฏิบัติของโครงการธรรมาภิบาลด้านยา (GGM)
ขององค์การอนามัยโลก
แผนภาพที่ 2.1 ขั้นตอนการปฏิบัติของโครงการธรรมาภิบาลด้านยา (GGM) ขององค์การอนามัยโลก
ที่มา: WHO. (2009). A Framework for Good Governance in the Pharmaceutical Sector – GGM
ที่มา: WHO. (2009). A Framework for Good Governance in the Pharmaceutical Sector – GGM Model Framework,
Model Framework, ibrd, p. 5.
ibrd, p. 5.
25
WHO. (2009). A Framework for Good Governance in the Pharmaceutical Sector – GGM Model
แผนภาพที่ 2.2 ความเสี่ยงต่อความไม่โปร่งใสที่นำไปสู่การทุจริตในระบบอภิบาลยา
แผนภาพที่ 2.2 ความเสี่ยงต่อความไม่โปร่งใสที่น าไปสู่การทุจริตในระบบอภิบาลยา
Framework. p. 1-2.
2-12
ที่มา: สรุปและเรียบเรียงจาก WHO. A Framework for Good Governance in the Pharmaceutical
ที่มา: สรุปและเรียบเรียงจาก WHO. A Framework for Good Governance in the Pharmaceutical Sector – GGM Model
Sector – GGM Model Framework, ibrd, p. 12-15.
Framework, ibrd, p. 12-15.
ต่อมาในค.ศ.2009 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ตีพิมพ์เอกสารว่าด้วย การวัด
ความโปร่งใส่ในระบบอภิบาลยา(Measuring Transparency in the Public Pharmaceutical Sector –
26
Assessment Instrument) โดยมีเป้าประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินความโปร่งใสและความเสี่ยงต่อ
การทุจริตในระบบอภิบาลยาของโครงการธรรมาภิบาลด้านยา(GGM)โดยสมมติฐานส าคัญของเอกสารชิ้นนี้คือ
ความเชื่อที่ว่าความโปร่งใส่ (Transparency) เป็นองค์ประกอบส าคัญของการมีระบบธรรมาภิบาล (Good
Governance) ดังนั้น การประเมินความโปร่งใสจึงส าคัญและจ าเป็นอย่างยิ่งในการออกแบบระบบธรรมาภิบาล
บทที่ 2
อย่างไรก็ตาม การประเมินความโปร่งใสและความเสี่ยงของการคอรัปชั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบธรร
สถาบันพระปกเกล้า
มาภิบาลเท่านั้นแต่หากยึดตามแนวทางของ WHO การได้มาซึ่งระบบธรรมาภิบาลสามารถนิยามได้จาก
กระบวนการปรึกษาหารือในระดับชาติ ซึ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้ามามีส่วนร่วม การมีกรอบศีลธรรม
(ethical framework) หรือจริยธรรมวิชาชีพ (code of conduct) และกลไกที่ก่อให้เกิดการร่วมมือกันในการ
ต่อต้านการทุจริต เป็นต้น
26
สรุปและเรียบเรียงดัดแปลงจาก WHO. (2009). A Framework for Good Governance in the Pharmaceutical
Sector – GGM Model Framework. p. 21-24.
2-13