Page 80 - kpiebook65064
P. 80
30 โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
ต่อมาใน ค.ศ. 2009 องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ได้ตีพิมพ์เอกสาร
การวัดความโปร่งใส่ในระบบอภิบาลยา(Measuring Transparency in the Public
Pharmaceutical Sector – Assessment Instrument) โดยมีเป้าประสงค์เพื่อเป็นแนวทางใน
26
การประเมินความโปร่งใสและความเสี่ยงต่อการทุจริตในระบบอภิบาลยาของโครงการธรรมาภิบาล
ด้านยา (GGM) โดยสมมติฐานสำคัญของเอกสารชิ้นนี้ คือ ความเชื่อที่ว่าความโปร่งใส
(Transparency) เป็นองค์ประกอบสำคัญของการมีระบบธรรมาภิบาล (Good Governance) ดังนั้น
การประเมินความโปร่งใสจึงสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการออกแบบระบบธรรมาภิบาล
อย่างไรก็ตาม การประเมินความโปร่งใสและความเสี่ยงของการคอรัปชั่นเป็นเพียงส่วนหนึ่ง
ของระบบธรรมาภิบาลเท่านั้น แต่หากยึดตามแนวทางของ WHO การได้มาซึ่งระบบธรรมาภิบาล
สามารถนิยามได้จากกระบวนการปรึกษาหารือในระดับชาติซึ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้ามามี
ส่วนร่วม การมีกรอบศีลธรรม (ethical framework) หรือจริยธรรมวิชาชีพ (code of conduct)
และกลไกที่ก่อให้เกิดการร่วมมือกันในการต่อต้านการทุจริต เป็นต้น
2.2.1 ระบบการกำกับดูแลระบบอภิบาลยาของ WHO
2.2.1 ระบบการก ากับดูแลระบบอภิบาลยาของ WHO
เนื่องจากรัฐบาลในแต่ละประเทศมีการออกกฎระเบียบออกมารองรับการกำกับดูแล
เนื่องจากรัฐบาลในแต่ละประเทศมีการออกกฎระเบียบออกมารองรับการก ากับดูแลระบบอภิบาลยาของ
ระบบอภิบาลยาของตนเองที่มีโครงสร้างและกฎระเบียบแตกต่างกันออกไป แต่โดยหลักการ
ตนเองที่มีโครงสร้างและกฎระเบียบแตกต่างกันออกไป แต่โดยหลักการแล้วการก ากับดูแลระบบอภิบาลยาที่มี
การกำกับดูแลระบบอภิบาลยาที่มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับธรรมาภิบาล ซึ่งโครงการธรรมาภิบาล
ประสิทธิภาพและสอดคล้องกับธรรมาภิบาล ซึ่งโครงการธรรมาภิบาลด้านยา (GGM) ได้ก าหนดองค์ประกอบธรร
ด้านยา (GGM) ได้กำหนดองค์ประกอบธรรมาภิบาลของระบบยาอยู่ 9 ด้าน ดังนี้
มาภิบาลของระบบยาอยู่ 9ด้านดังนี้
แผนภาพที่ 2.3: สรุปองค์ประกอบพื้นฐานการกำกับดูแลระบบอภิบาลยา
แผนภาพที่ 2.3: สรุปองค์ประกอบพื้นฐานการก ากับดูแลระบบอภิบาลยา
ที่มา: WHO. Measuring Transparency in the Public Pharmaceutical Sector – Assessment
ที่มา: WHO. Measuring Transparency in the Public Pharmaceutical Sector – Assessment Instrument, (Geneva:
Instrument, (Geneva: World Health Organization, 2009), p. 21-25.
World Health Organization, 2009), p. 21-25.
(1) กฎหมาย (Legislation)
กฎหมายเป็นรูปแบบพื้นฐานที่สุดของการก ากับดูแลระบบอภิบาลยา เพราะกฎหมายให้อ านาจก ากับดูแล
สรุปและเรียบเรียงดัดแปลงจาก WHO. (2009). A Framework for Good Governance in the
26
Pharmaceutical Sector – GGM Model Framework. p. 21-24.
ระบบอภิบาลยาแก่รัฐโดยทั่วไปแล้วกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการก ากับดูแลระบบอภิบาลยามีสาระส าคัญดังนี้
- มีการระบุว่าผลิตภัณฑ์ใดที่จะต้องก ากับดูแล
บทที่ 2
- มีการก าหนดพื้นที่และกิจกรรมที่จะต้องก ากับดูแล
สถาบันพระปกเกล้า
- มีการจัดตั้งหน่วยงานที่มีหน้าที่ก ากับดูแลยา
- มีการก าหนดบทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบ สิทธิ และอ านาจในการด าเนินการให้กับผู้ที่มีส่วน
เกี่ยวข้องทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นผู้ก ากับดูแล และผู้ถูกก ากับดูแล
- มีการจัดตั้งองค์กรที่มีหน้าที่บริหารจัดการ หรือองค์กรที่ท าหน้าที่บังคับใช้กฎระเบียบ
- มีการก าหนดมาตรฐานที่จะใช้ในการก ากับระบบอภิบาลยา
- มีการก าหนดเงื่อนไขและสัญญาในการท าธุรกรรมเกี่ยวกับยาอาทิ การน าเข้า ส่งออก การซื้อ การขาย
และการโฆษณา
- มีมาตรการในการลงโทษหากมีการกระท าผิด หรือฝ่าฝืนการก ากับดูแล
- (อาจ) ให้อ านาจในการตั้งหน่วยงานย่อยที่ท าหน้าที่ก าหนดรายละเอียดในการควบคุมยาเพื่อให้
สอดคล้องกับกฎหมายและงานด้านอื่นๆ
(2) การก ากับดูแล (Regulations)
2-14