Page 140 - kpi15428
P. 140
ชุมชนกับสิทธิ ในทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภาพที่ 4.1 ภาพรวมทิศทางนโยบายเกี่ยวกับสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2475 - 2554
การเมืองมีความผันผวนตั้งแต่ปี พ.ศ.2475 เพราะ การช่วงชิงอำนาจระหว่างฝ่ายผู้มีบทบาทนำทาง การเมือง จนช่วงหลัง พ.ศ.2535 บทบาททางการ ความตื่นตัวทางการเมืองภาคประชาชนมีมากขึ้น นโยบายสิทธิชุมชน พ.ศ.2550 - 2554 รธน.ฉบับที่ 18 พ.ศ.2550 มี บทบัญญัติว่าด้วยเรื่องสิทธิชุมชนโดย ไม่มีข้อกำหนดต่อท้ายมาตรา “ทั้งนี้ ตาม ที่กฎหมายบัญญัติ” ทำให้มีกรณีชุมช
การเมือง เมืองของกลุ่มอื่นๆ มีมากขึ้น ช่วงหลัง พ.ศ.2540 ได้โดยตรงแม้ไม่มีกฎหมายระดับ พ.ร.บ.รองรับ ส่วนคำแถลงนโยบายช่วงนี้ เน้นส่งเสริมชุมชนใน
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศส่วนใหญ่ขาดดุลการค้า เพราะพึ่งพาสินค้านำเข้ามาก การเกษตร ผลผลิตมี มูลค่าน้อย ภาคอุตสาหกรรมใช้ทรัพยากรอย่างไม่คุ้มค่า เท่าที่ควร รายได้ประชากรมีแนวโน้มเหลื่อมล้ำเรื่อยมา เพราะมีการพัฒนาแบบกระจุกตัว นโยบายสิทธิชุมชน พ.ศ.2540 - 2549 มีการรับรองสิทธิชุมชนหลาย มาตราใน รธน.2540 แต่มีข้อ กำหนดต่อท้าย “ทั้งนี้ ตา
ประชากรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตั้งแต่ช่วง พ.ศ.2475 เป็นผลให้ เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างมากและไม่คุ้มค่า และการพัฒนา ลงไป เกิดเป็นปัญหาสังคม เช่น อาชญากรรม ความ เสื่อมโทรมทางจิตใจ การแก่งแย่งแข่งขัน ยาเสพติด ฯลฯ นโยบายสิทธิชุมชน พ.ศ.2475 - 2539 ให้ความสำคัญกับสิทธิของบุคคล มากกว่าชุมชนโดยมี รธน.บางฉบับ ให้สิทธิกับกลุ่มบุคคลแต่เป็นสิทธิเสนอ เรื่อ
สังคม ที่เน้นทุนนิยมได้ทำให้สภาพสังคมแบบชุมชนดั้งเดิมลดน้อย เทคโนโลยี ส่วนใหญ่ไทยพึ่งพาเทคโนโลยีและการช่วยเหลือจากต่างประเทศมากกว่าการ พัฒนาขึ้นมาเอง ทำให้การพัฒนาทางการเกษตรและอุตสาหกรรมซึ่งเป็นรายได้ หลักของประเทศยังไม่เติบโตได้อย่างเต็มที่ และเทคโนโลยีปัจจุบันมีการพัฒนา แบบก้าวกระโดดมากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสริมที่ดีต่อการพัฒนาประเทศ แต่ก็เป็
1 กับรัฐด้วย