Page 177 - kpi15476
P. 177
1 การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15
เหนือสมบัติของพระองค์ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่าพระองค์เองก็มีอำนาจเหนือพุทธอาณาที่พระองค์
ออกมาให้พระสาวกปฏิบัติ ดังนั้นจึงไม่ได้ผูกมัดพระองค์ ซึ่งก็หมายความว่าพระองค์สามารถ
18
แสดงฤทธิ์ได้ เรื่องที่ยกมาสรุปเล่าชี้ให้เห็นถึงความเป็นใหญ่และเป็นเจ้าของแห่งธรรมของ
พระธรรมราชาทั้งสองฝ้ายได้อย่างชัดเจน และสนับสนับพระพุทธดำรัสที่ตรัสเปรียบเทียบไว้ใน
ธรรมราชสูตรตามที่ได้ยกมากล่าวแล้ว
ธรรมราชากับพระมหากษัตริย์ไทย
คำว่า ธรรมราชา มีใช้ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์ คือ
พระยาลิไทยธรรมราชา พระราชนัดดาของพ่อขุนรามคำแหงมหาราชในสมัยสุโขทัย พระมหา
ธรรมราชา พระราชบิดาของพระนเรศวรมหาราชในสมัยอยุธยา และเป็นสร้อยขยาย
พระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ...
สุโขทัยธรรมราชา... และยังนำคำว่า ธรรมิก (บาลี-ธมฺมิก, ไทย ธัมมิก) มาประกอบเป็น
ปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราช
เหตุผลในการถวายปรมาภิไธยอย่างนี้น่าสนใจศึกษาต่อไป แต่ในบทความนี้จะกล่าวถึงแต่
เฉพาะธรรมราชาในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเท่านั้น ผู้เขียน
ได้เสนอความหมายของธรรมราชาไว้แล้วและจะนำมาอธิบายเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจและ
พระราชจริยาวัตรเพื่อศึกษาความเป็นธรรมราชาของพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์นี้ดังนี้
พระราชาโดยธรรม : พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ
เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 ทั้งที่ไม่ทรงเต็มพระทัย มีกล่าวไว้ว่า พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวประชวรและเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ก่อน
เสด็จสวรรคต พระองค์ทรงมีพระราชหัตถเลขานิติกรรมเกี่ยวกับการสืบราชสมบัติไว้ความ
ตอนหนึ่งว่า “…หากมีพระราชโอรสก็ให้สมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสุโขทัยธรรมราชาทรงเป็นประธาน
คณะผู้สำเร็จราชการต่างพระองค์จนกว่าพระมหากษัตริย์จะทรงบรรลุนิติภาวะ แต่ถ้าไม่มี
พระราชโอรสก็ใคร่ให้สมเด็จเจ้าฟ้ากรงหลวงสุโขทัยธรรมราชาทรงรับรัชทายาทสืบสันติวงศ์ตาม
ราชประเพณี...” เมื่อพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในรัชกาลที่ 6 มีพระประสูติการ
19
พระราชธิดา (ทรงได้รับพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา
สิริโสภาวัณณวดี ในรัชกาลปัจจุบัน) แม้ว่าสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงสุโขทัยธรรมราชาจะไม่ทรงเต็ม
พระทัยรับรับราชสมบัติด้วยทรงเห็นว่าพระองค์ยังไม่แก่(ไม่ชำนาญ)ราชการเพียงพอเนื่องจาก
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย เชษฐาธิราช จากพระราชประวัติที่ยกมานี้จะเห็นว่า พระองค์ทรงได้รับการพระราชทานพระราช
ทรงเป็นพระอนุชาพระองค์เล็กสุดและเจ้านายที่มีอาวุโสพอจะรับราชสมบัติก็ยังน่าจะมี แต่ที่
ประชุมก็ลงความเห็นเป็นเอกฉันท์ให้ทูลเชิญพระองค์เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบต่อพระบรม
20
ธ.อ. 6 / 32. ยมกปาฏิหาริยวตฺถุ.
18
ส. พลายน้อย, หน้า 43.
19
20
พระยาประกาศอักษรกิจ (เสงี่ยม ราชนันท์), หน้า ช.