Page 298 - kpi15476
P. 298
2) อํานาจหนาที่ของอภิรัฐมนตรีสภา
อภิรัฐมนตรีสภาเปนสภาการแผนดินสูงสุดที่มีบทบาทและอํานาจหนาที่ในการเปนที่ปรึกษา
สั่งการของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวในการบริหารราชการแผนดินทั้งปวง อยางไรก็ดี
อภิรัฐมนตรีสภาไมมีอํานาจหนาที่บังคับบัญชาราชการแตอยางใด เวนแตจะทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ
พิเศษเฉพาะตัวบุคคลหรือเปนการชั่วคราว การถวายคําปรึกษาโดยสวนใหญไดทําในรูปของการประชุม
ซึ่งตองมีอภิรัฐมนตรีเขารวมประชุมอยางนอย 3 พระองค จึงจะถือวาครบองคประชุม อภิรัฐมนตรีสภา
สามารถกราบบังคมทูลถวายความเห็นเปนการสวนพระองคไดทุกเมื่อ ทั้งในเรื่องที่พระราชทานมาให
ถวายคําปรึกษา หรืออื่นๆ ที่อภิรัฐมนตรีเห็นสมควร นอกจากนี้ อภิรัฐมนตรียังมีสิทธิเขารวมประชุมใน
เสนาบดีสภา และมีสิทธิลงคะแนนไดดวย ในขณะที่เสนาบดีไมมีสิทธิเขารวมประชุมในอภิรัฐมนตรีสภา
เวนแตจะไดรับเชิญเปนกรณีพิเศษ เชน เขาไปชี้แจงขอเท็จจริงในเรื่องตางๆ ตลอดจนแสดงความคิดเห็น
แตไมมีสิทธิออกเสียง (ชาญชัย รัตนวิบูลย, 2548: 162-163)
การถวายความเห็นของอภิรัฐมนตรีสภาในเรื่องที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯพระราชทานลงมา
โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานนโยบายตางๆ ของรัฐบาล เพื่อประกอบการวินิจฉัยตัดสินพระทัยสั่งการ
สามารถดําเนินการได 3 ลักษณะตามความสําคัญของเรื่อง (ชาญชัย รัตนวิบูลย, 2548: 81-82) ดังนี้
2.1) การพระราชวินิจฉัยตัดสินพระทัยสั่งการ โดยทางฟงความคิดเห็นจากอภิรัฐมนตรีสภาและ/
ราชการแผนดินทั้งปวงทั้งในดานนโยบายและการนิติบัญญัติเพื่อประกอบพระราชวินิจฉัยตัดสินพระทัย
หรือเสนาบดีสภา เรื่องราวที่เขาขายการพระราชทานวินิจฉัยตัดสินพระทัยสั่งการลักษณะนี้ นับวาเปน
การประชุมวิชาการ
เรื่องที่มีความสําคัญมากที่สุด เชน ปญหาและนโยบายเกี่ยวกับการคลัง การเปลี่ยนแปลงตัวเสนาบดี 29
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15
กระทรวงตางๆ เปนตน ตามกระบวนการในแผนภูมิที่ 1
แผนภูมิที่ 1 กระบวนการพระราชวินิฉัยตัดสินพระทัยสั่งการของพระมหากษัตริย์
แผนภูมิที่ 1 กระบวนการพระราชวินิฉัยตัดสินพระทัยสั่งการของพระมหากษัตริยผานอภิรัฐมนตรีสภา
ผ่านอภิรัฐมนตรีสภา
พระมหากษัตริย
(3) อภิรัฐมนตรีสภา
และ/หรือเสนาบดีสภา
(2)
(4)
กรมราชเลขาธิการ
(5)
(1)
กระทรวงเจาของเรื่อง กระทรวงเจาของเรื่อง
(6)
ที่มา : ชาญชัย รัตนวิบูลย, ปริญญานิพนธ เรื่อง “บทบาทของอภิรัฐมนตรีสภาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
ที่มา : ชาญชัย รัตนวิบูลย์, ปริญญานิพนธ์ เรื่อง “บทบาทของอภิรัฐมนตรีสภาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว”, 2548: 81.
พระปกเกลาเจาอยูหัว”, 2548: 81.
จากแผนภูมิข้างต้นสามารถวิเคราะห์อธิบายได้ดังต่อไปนี้
ดร. สุรพล ศรีวิทยา©18 สิงหาคม 2556 5
(1) เรื่องราวที่ส่งจากกระทรวงต่างๆ มายังกรมราชเลขาธิการ
(2) ให้ราชเลขาธิการนำความตามข้อ (1) ขึ้นกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเพื่อทรงวินิจฉัยสั่งการ
(3) พระบรมราชวินิจฉัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
(4) ให้ราชเลขาธิการปฏิบัติตามพระบรมราชวินิจฉัย นั่นคือการนำเรื่องตาม
ข้อ (1) เสนออภิรัฐมนตรีสภาและ/หรือเสนาบดีสภา ส่วนการที่จะพิจารณาว่า
เรื่องใดควรเสนอสภาใดและเมื่อใดนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงเป็นผู้ตัดสิน แต่ถึงเสนอเสนาบดีสภา อภิรัฐมนตรีสภาทุกพระองค์จะต้อง
เข้าร่วมประชุมด้วย ยกเว้นกรณีมีเหตุจำเป็นจริงๆ เช่น ประชวร
(5) มติของสภาตาม (4)
(6) ราชเลขาธิการแจ้งมติของสภาตาม (4) ให้กระทรวงที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อจะได้
ปฏิบัติการให้เป็นไปตามมติ (ชาญชัย รัตนวิบูลย์, 2448: 81-82)
2.2) การพระราชวินิจฉัยตัดสินพระทัยสั่งการ โดยทรงฟังความเห็นจากอภิรัฐมนตรี
และ/หรือเสนาบดีบางพระองค์ โดยทั่วไปเป็นเรื่องที่มีความสำคัญน้อยกว่าเรื่องใน
ข้อ 2.1 ข้างต้น เช่น นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับท่าทีของนายกสมาคมต่อสู้บอล
เชวิค (Bolshevik) และการพิมพ์รายงานงบประมาณประจำปีของที่ปรึกษาราชการ
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติเป็นภาษาอังกฤษ เป็นต้น
2.3) การพระราชวินิจฉัยตัดสินพระทัยสั่งการ โดยไม่ต้องฟังความคิดเห็นจากฝ่ายใด เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
เรื่องที่เข้าข่ายนี้โดยทั่วไปเป็นเรื่องที่มีความสำคัญน้อยที่สุด เช่น การกราบบังคม