Page 519 - kpi18886
P. 519
511
ตารางที่ 3 สถาบันการเมืองเปรียบเทียบโคลัมเบีย ตุรกี มอลโดวา และไทย
ไทย
3
ประเด็นเปรียบเทียบ โคลัมเบีย มอลโดวา
(ความน่าจะเป็น)
รูปแบบรัฐ รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐ และ รัฐเดี่ยว และเป็น รัฐเดี่ยว และเป็นกษัตริย์
รัฐสังคม สาธารณรัฐ ภายใต้รัฐธรรมนูญ
ระบอบการปกครอง ประชาธิปไตยอย่างมีส่วน ประชาธิปไตย และพหุ ประชาธิปไตยอันมี
ร่วมจากทุกกลุ่มการเมือง นิยมทางการเมือง พระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข
ระบบการเมือง ระบบประธานาธิบดี ระบบรัฐสภา 4 ระบบรัฐสภา
รูปแบบรัฐสภา สภาคู่ สภาเดี่ยว สภาคู่
ระบบศาล ศาลคู่ ศาลคู่ ศาลคู่
ระบบเลือกตั้ง ระบบเลือกตั้งแบบสัดส่วน ระบบเลือกตั้งแบบสัดส่วน ระบบเลือกตั้งแบบจัดสรร
ปันส่วนผสม
ระบบพรรคการเมือง ระบบพรรคการเมือง ระบบพรรคการเมือง ระบบพรรคการเมือง
หลายพรรค หลายพรรค หลายพรรค
ปีที่เปลี่ยนผ่านสู่ ค.ศ. 1910 5 ค.ศ. 1991 ค.ศ. 1932
ประชาธิปไตย (เลือกตั้งระดับชาติ) (ประกาศเอกราช)
รัฐธรรมนูญฉบับล่าสุด รัฐธรรมนูญปี 1991 รัฐธรรมนูญปี 1994 รัฐธรรมนูญ พุทธศักราช
2560 (ค.ศ. 2017)
(ที่มา สรุปจากรัฐธรรมนูญในส่วนหลักการพื้นฐานของโคลัมเบีย มอลโดวา และไทย)
สำหรับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีของประเทศไทย แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ของประเทศไทย กำหนดระยะเวลาของแผนยุทธศาสตร์ระหว่างปี 2017-2036
(พ.ศ. 2560 – 2579) เน้นหลักการพัฒนาที่สำคัญ คือ การพัฒนาภายใต้
3 สำหรับประเทศไทย ในงานชิ้นนี้ได้คาดการณ์จากรัฐธรรมนูญปี 2017 ผลที่เกิดขึ้นอาจจะ
ไม่เป็นไปตามที่วิเคราะห์ก็ได้ เพราะการวิเคราะห์สถาบันการเมืองต้องคำนึงถึง “ผลลัพธ์ที่ไม่คาดคิด”
(unintended consequences) ที่อาจไม่ได้มาจากรัฐธรรมนูญ แต่กระทบต่อรูปแบบสถาบัน
ทางการเมืองได้
4 มอลโดวาเป็นระบบรัฐสภา แต่มีทั้งประธานาธิบดี และนายกรัฐมนตรี แต่ประธานาธิบดี
ไม่มีอำนาจในเชิงการบริหาร และไม่ได้มีอำนาจในลักษณะของกึ่งประธานาธิบดี (semi-
presidential system)
5 มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีระดับชาติ แต่มีการเลือกตั้งที่มีการแข่งขันระหว่าง
พรรคการเมืองแท้จริงในช่วง ค.ศ. 1970s
บทความที่ผานการพิจารณา