Page 145 - kpi20756
P. 145

การประชุมวิชาการ
                                                                                        สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 21   1
                                                                                        ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ สร้างคุณภาพประชาธิปไตย


                      บรรณานุกรม



                      ภาษาไทย

                      เจมส์ โอกีย์. (2560). “การเลือกตั้งและบูรณาการทางการเมืองในภาคใต้ของไทย.” ใน ไทยใต้

                                มลายูเหนือ: ปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์บนคาบสมุทรแห่งความหลากหลาย, โดย ไมเคิล
                                เจ มอนเตซาโน่, 143-177. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรอาเซียนศึกษา สำนักวิชา
                                ศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย.

                      งามศุกร์ รัตนเสถียร. (2558). นักการเมืองกับสันติชายแดนใต้. นครปฐม: สถาบันสิทธิมนุษย

                                ชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.

                      ดันแคน แม็กคาร์โก. (2555). ฉีกแผ่นดิน อิสลามและปัญหาความชอบธรรมในภาคใต้ ประเทศ
                                ไทย. แปลโดย ณัฐธยาน์ วันอรุณวงศ์. กรุงเทพฯ: คบไฟ.


                      นัจมุดดีน อูมา. (2554). บทบาททางการเมืองของกลุ่มวะห์ดะห์ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้.
                                กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สายใยประชาธรรม

                      บูฆอรี ยีหมะ. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดปัตตานี. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.

                                . (2555). นักการเมืองถิ่นจังหวัดยะลา. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.

                                . (2562). “พฤติกรรมการเลือกตั้ง” ใน 3 จว.ชายแดนใต้ เลือกคนมากกว่าเลือก

                                พรรค. หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันที่ 2 มกราคม 2562 หน้า 15.

                      สมัชชา นิลปัทม์. (2556). “วาทกรรมสื่อมวลชนในกระบวนการสันติภาพสามจังหวัดชายแดน
                                ภาคใต้ 2556.” ใน วารสารนิเทศศาสตร์, 32(4), 1-27.

                      รุจน์จาลักษณ์รายา คณานุรักษ์. (2558). นักการเมืองท้องถิ่นจังหวัดนราธิวาส. นนทบุรี:

                                สถาบันพระปกเกล้า.

                      อิมรอน ซาเหาะ. (2558). แนวคิดอิสลามการเมืองและสันติภาพของพรรคการเมืองมุสลิมใน
                                ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

                      บุคลานุกรม

                      เจะอามิง โตะยาหยง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส พรรคประชาธิปัตย์ 5 สมัย

                                และอดีตผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ พรรครวมพลังประชาชาติไทย
                                (ผู้ให้สัมภาษณ์), อิมรอน ซาเหาะ และยาสมิน ซัตตาร์ (ผู้สัมภาษณ์), ณ โรงแรมอ่าว

                                มะนาวรีสอร์ท นราธิวาส อ.เมือง จ.นราธิวาส สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2561.

                      เด่น โต๊ะมีนา อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี 8 สมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการ
                                กระทรวงมหาดไทย และอดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข (ผู้ให้

                                สัมภาษณ์), อิมรอน ซาเหาะ และยาสมิน ซัตตาร์ (ผู้สัมภาษณ์), ณ บริษัทปัตตานี
                                ขนส่ง จำกัด อ.เมือง จ.ปัตตานี สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2561.                     เอกสารประกอบการสัมมนากลุ่มย่อยที่ 2
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150