Page 214 - kpi20756
P. 214
21 การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 21
ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ สร้างคุณภาพประชาธิปไตย
ตารางที่ 2 ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำไม่เท่าเทียม
กันในสังคมไทย
ระดับความคิดเห็น
ประเภทความเหลื่อมล้ำ รวม เห็นด้วย ค่อนข้าง ไม่ค่อย ไม่เห็นด้วย ไม่มีความ
อย่างยิ่ง เห็นด้วย เห็นด้วย เลย คิดเห็น
๏ ด้านรายได้และ 100.0 36.9 50.2 6.6 2.2 4.1
ทรัพย์สิน 87.1
๏ ด้านการศึกษา 100.0 24.8 52.6 14.5 3.5 4.6
77.4
๏ ด้านกฎหมายและ 100.0 23.2 51.0 15.5 4.1 6.2
กระบวนการยุติธรรม 74.2
๏ ด้านสาธารณสุข/ 100.0 17.2 51.4 20.8 5.4 5.2
การดูแลสุขภาพ 68.6
๏ การเข้าถึง/ใช้ประโยชน์ 100.0 14.9 51.3 20.8 5.5 7.5
จากทรัพยากรธรรมชาติ 66.2
๏ การมีส่วนร่วมทาง 100.0 14.7 51.2 20.3 5.1 8.7
การเมือง 65.9
๏ สาธารณูปโภค 100.0 15.5 50.2 22.1 6.1 6.1
ขั้นพื้นฐาน 65.7
๏ ด้านเพศ 100.0 14.0 45.3 27.2 7.4 6.1
59.3
ที่มา : สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2561.
P4.2 ตัวชี้วัด ความเหลื่อมล้ำด้านรายได้
คำอธิบายตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ทางสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติได้จัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้ พิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini
coefficient) ด้านรายได้ เช่น รายได้กระจุกตัวอยู่ในกลุ่มคนรวยมากน้อยเพียงใด
จากข้อมูล โดยเฉลี่ยค่า Gini หรือค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคทางด้านรายได้ของ
เอกสารประกอบการสัมมนากลุ่มย่อยที่ 4
ประเทศไทยปี 2556-2558 อยู่ที่ 4.43 ซึ่งเมื่อแยกคำนวณค่าดัชนีตามแบบ Z Score จะอยู่ใน
ระดับตัวชี้วัดสันติภาพ ระดับที่ 3