Page 46 - kpi20858
P. 46

33






                            นาฏศิลป์ ของไทย ไม่แสดงอารมณ์ทางใบหน้า ไม่แสดงอายุหรือวัย…ไม่แสดงริ้วรอยย่นบน
                            หน้าตา แขนขา รวมทั้งรอยยับของเสื้อผ้าอาภรณ์ ขนาดรูปทรง หน้าตา เสื้อผ้าอาภรณ์จะ

                            เหมือนกันเกือบทุกองค์  เว้นแต่กิริยาท่าทางและรายละเอียดบนเสื้อผ้าที่ต่างกันออกไป
                            แต่จะทราบว่าบุคคลเหล่านั้นเป็นใคร  อยู่ที่การจัดวางต าแหน่งความส าคัญของรูปทรง

                            ในองค์ประกอบของภาพจิตรกรรม

                                  ระดับที่ 2 รูปแบบผสมอารมณ์ความเป็นจริง ได้แก่ รูปทรงที่เป็นข้าราชส านัก นัก

                            ดนตรี และชนชั้นสูง เป็นรูปทรงที่มีความส าคัญรองลงมา... เขียนตามอุดมคติแบบโบราณ
                            โดยผสมกิริยาท่าทางการแต่งกายตามความเป็นจริงของคนในสังคมสมัยนั้นลงไปบ้าง...

                            อาจจะเห็นปากหรือใบหน้าแสดงอารมณ์มากขึ้น...  การแต่งกายเครื่องทรงอาจจะไม่เต็ม

                            ยศเท่ารูปทรงพระหรือนาง...

                                  ระดับที่  3  รูปแบบเลียนแบบความเป็นจริง  เป็นรูปทรงที่แสดงออกด้วยภาพ

                            ชาวบ้านสามัญชนธรรมดา...  ถ่ายทอดบุคคล  สังคม  และชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนใน
                            ยุคนั้นๆ  ไว้ในส่วนที่ไม่ใช่จุดเด่นของภาพ  เพื่อช่วยให้ช่องผนังมีชีวิตชีวาขึ้น  ใกล้ชิดและ

                            คุ้นเคยกับผู้ชมมากขึ้น และภาพส่วนนี้สะท้อนชีวิตความเป็นอยู่ จารีตประเพณี ความเชื่อ
                            และความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ให้แก่ชนรุ่นหลังได้รับรู้   รูปทรงเหล่านี้ถูกเขียนให้มี

                            จังหวะลีลาสนุกสนานกว่ารูปทรงพระนาง...  แสดงทีท่าในชีวิตประจ าวัน...  ช่างมีอิสระที่

                            จะเขียนรูปคนธรรมดาสามัญที่ตนชอบ อ้วน ผอม แก่หนุ่ม... มักเขียนขึ้นอย่างง่าย ไม่มี
                            กฎเกณฑ์ตายตัวทั้งการเขียนกิริยา ท่าทางและทั้งการใส่เสื้อผ้าอาภรณ์...

                                  ระดับที่  4  รูปแบบเกินความเป็นจริง  มีรูปทรงแสดงออกคือ  รูปสัตว์นรกและ

                            ลักษณะขุมนรกต่าง ๆ เปรต อสุรกาย หรือคนที่รับทุกข์ในนรก เป็นรูปทรงที่เขียน ไว้ในส่วน

                            หนึ่งของไตรภูมิ ...เขียนเพื่อแสดงเรื่องราว และใช้เตือนสติผู้คนในสังคม... รูปทรงเหล่านี้
                            มักเขียนเกินความเป็นจริง  ทั้งรูปร่างที่บิดเบี้ยว  ผิดขนาด  และกิริยาที่เก้งก้าง  ออกไป

                                                            48
                            ในทางน่าเกลียดน่ากลัว หรือน่าขบขัน...
                              จากระดับต่าง  ๆ  ข้างต้น  แสดงให้เห็นถึงขนบนิยมที่มีความเคร่งครัดและผ่อนปรนในบาง

                       ระดับของกลุ่มรูปทรง กล่าวคือในระดับที่ 1 รูปแบบอุดมคติแสดงด้วยรูปทรง เทวดา เทวดา กษัตริย์

                       พระหรือนาง มีขนบในการสร้างสรรค์ที่เคร่งครัดมากที่สุด เนื่องจากเป็นแบบแผนที่ปฏิบัติสืบต่อกัน

                       มาอย่างยาวนาน  ประกอบกับมีโครงของเรื่องราวก ากับให้รูปลักษณ์ของกลุ่มคนเหล่านี้มีความ
                       พิเศษแบบอุดมคติแตกต่างไปจากกลุ่มคนในระดับอื่นๆ  จากลักษณะรูปแบบที่ได้รับการก าหนด





                           48 เรื่องเดียวกัน, 14-21.
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51