Page 18 - kpi20863
P. 18
666,719) คน ถึง 254,898 คน (ตารางที่ 1.4) เห็นได้ว่ากรุงเทพฯ มีความหนาแน่นของประชากรเพิ่มมากขึ้น
ในอัตราที่สูงกว่าการเพิ่มของประชากรทั้งพระราชอาณาจักรในช่วงเวลาเดียวกันมาก
2462 2472
ประชากรมณฑลกรุงเทพฯ (คน) 666,719 921,617
ความหนาแน่น (คน ต่อตร.กม.) 237 327
ประชากรทั้งพระราชอาณาจักร (คน) 9,207,355 11,506,207
ความหนาแน่น (คน ต่อตร.กม.) 18 22
ตารางที่ 2.4 จ่านวนและความหนาแน่นประชากรจากการส่ารวจส่ามะโนครัว พ.ศ. 2462 – 2472. ที่มา: หอ
จดหมายเหตุแห่งชาติ, ร.7 ม.4.4/3 บัญชีส่ามโนพลเมืองทั่วพระราชอาณาจักร.
ปัจจัยส่าคัญประการหนึ่งในการเพิ่มจ่านวนประชากรสยามในรัชกาลที่ 7 คือการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานด้านการแพทย์และสาธารณสุข ที่รัฐบาลได้ด่าเนินการมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัชกาลที่ 5 เป็นต้นมา
การตั้งสภากาชาดสยามในพ.ศ. 2436 การออกพระราชก่าหนดศุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 การตั้งกรมศุ
13
ขาภิบาล ต่อเนื่องถึงการตั้งกรมสาธารณสุขในพ.ศ. 2461 และการออกพระราชบัญญัติการแพทย์ในพ.ศ.
14
2466 ส่งผลให้มาตรฐานการแพทย์และสาธารณสุขในสยามสูงขึ้นตามล่าดับ และพัฒนาสืบต่อมาในรัชกาลที่
7 ทั้งการแพทยศาสตร์และพยาบาลศาสตร์ การอบรมให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับสุขอนามัย การรณรงค์
ป้องกันโรคระบาดและโรคร้ายแรง เช่น โรคเรื้อน วัณโรค กาฬโรค อหิวาตกโรค และไข้ทรพิษ (ภาพที่ 2-03)
ในช่วงรัชกาลที่ 7 นอกจากประชากรเพิ่มมากขึ้นดังกล่าวมาแล้ว ยังเกิดอาชีพใหม่ๆ ขึ้นในสังคม อัน
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเข้าสู่ความเป็นสมัยใหม่ เกิดอาชีพ เช่น นักหนังสือพิมพ์ ดาราภาพยนตร์ นักการ
ธนาคาร เป็นต้น เกิดการรวมกลุ่มตามสาขาอาชีพ สมาคมวิชาชีพ หอการค้า สมาคมการค้า สโมสรต่างๆ เป็น
จ่านวนมาก การสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในรัชกาลที่ 6 ตลอดจนการตั้งโรงเรียนวิชาชีพต่างๆ เช่น
โรงเรียนเพาะช่าง (ภาพที่ 2-04) โรงเรียนนางพยาบาลผดุงครรภ์ โรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย ท่าให้เกิดชน
ชั้นกลางในเมืองที่มีการศึกษา มีความรู้ในทางวิชาชีพสมัยใหม่ ในสังคมที่ค่อยๆ ก้าวเข้าสู่โลกทุนนิยมสมัยใหม่
พัฒนาการในสังคมสยามที่ส่าคัญอีกด้านหนึ่ง คือการคมนาคม ซึ่งการส่ารวจส่ามะโนครัวทั่วพระ
ราชอาณาจักรในพ.ศ. 2462 และพ.ศ. 2472 ได้ให้ข้อมูลพัฒนาการเชิงจ่านวนของพาหนะชนิดต่างๆ ทั่วพระ
ราชอาณาจักร (ตารางที่ 1.5) ชี้ให้เห็นถึงความส่าคัญของการคมนาคมทั้งทางบกและทางน้่า โดยที่การ
คมนาคมทางบกและทางน้่ามีอัตราความเจริญเพิ่มขึ้นถึงประมาณร้อยละ 750 และร้อยละ 150 ตามล่าดับ
11