Page 186 - 21736_Fulltext
P. 186

165



                                 อาจารย์อติชาต: ต้องปรับคู่กรณีให้เท่ากัน บางกรณีมีผู้ปกครองมาแต่อีกฝ่ายไม่มี
                       ผู้ปกครองก็จะเป็นฝ่ายพูด อีกฝ่ายพูดอะไรไม่ออก เนื่องจากอีกฝ่ายเป็นผู้ใหญ่ การขอโทษและเขียวยา

                       ซึ่งกันและกัน เยียวยาความรู้สึกและสิ่งที่สูญเสีย เช่น กรณีต่อยเพื่อนแว่นแตก ผู้ก่อเหตุยอมจ่ายค่า
                       รักษาพยาบาล ชดใช้ค่าวัสดุที่เสียหาย

                                 อาจารย์วรรณสวัสดิ์: คู่กรณีต้องสมัครใจที่จะใช้กระบวนการนี้

                                 อาจารย์อาจารย์นเรศ: เปิดใจคุยกัน เข้าใจกระบวนการไกล่เกลี่ย เห็นความสำคัญของ
                       การไกล่เกลี่ย (มีความศักดิ์สิทธิ์) จบด้วยความเข้าใจ ต้องหาปมให้เจอ เข้าถึงข้อมูลในเชิงลึกซึ้ง บาง

                       กรณีเรื่องอาจจะไม่จบเพราะคู่กรณีเองก็มี
                                 นายอภิชัย: ยอมเข้ามาคุยกัน ให้ทั้ง 2 ฝ่ายอารมณ์เย็นก่อน

                                 นายเมธี: ยอมขอโทษ พูดจาดีด้วย / มีข้อตกลง

                                 นายภัทรภูมิ: มีวุฒิภาวะในการคุยกับคู่กรณี มีสติ
                                 อาจารย์ณัทธสิฐษ์: เจ้าตัวยอมไกล่เกลี่ย ยอมรับฟัง อยากพูดนำเสนอ ไม่ปิดตัวเอง บอก

                       ความต้องการ ยอมรับความจริง ยอมรับกฎระเบียบ

                                 ผศ.ดร.วันวร: คู่กรณีมีความต้องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ปัจจัยหลากหลาย เช่น ขึ้นอยู่
                       กับการเลี้ยงดู


                              4.3 การสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจควรมีหรือไม่ อย่างไร

                                 อาจารย์วราวุฒิ: ควรมีความไว้วางใจกัน นำข้อเท็จจริงมาพูด หาวิธีการยอมรับข้อตกลง

                       ร่วมกัน
                                 อาจารย์วรรณสวัสดิ์: เด็กจะไว้วางใจว่าอาจารย์จะให้ความยุติธรรม แต่อาจจะไม่เสมอ

                       ไป สร้างสัมพันธภาพให้คู่กรณีพูดความจริง ถ้าเปิดใจกันไม่ได้ก็จะยากในการได้รับข้อเท็จจริง
                                 อาจารย์อติชาต: เกี่ยวกับเรื่องของบุคลิกภาพด้วย คือ บางคนอาจจะไว้วางใจ บางคนไม่

                       ไว้วางใจ แต่ส่วนที่จะเสริมให้เกดความไว้วางใจเพิ่มขึ้น คือลักษณะการตั้งคำถามของคนกลาง และ

                       การฟังอย่างตั้งใจ
                                 อาจารย์อาจารย์นเรศ: จบด้วยความเข้าใจ ต้องหาปมให้เจอ เข้าถึงข้อมูลในเชิงลึก แต่

                       เดิมเด็กจะเป็นเพื่อนกันมาก่อน เมื่อเกิดเหตุและได้พูดคุยถึงสาเหตุก็จะทำให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
                                 อาจารย์ฐิติ: อาจารย์จะรู้จักมักคุ้นเด็กมาก่อน รู้สถานะกันมาก่อนอยู่แล้วทำให้การ

                       พูดคุยง่ายขึ้น ให้ทราบถึงนโยบายของมหาวิทยาลัย ให้รู้ถึงเจตนาของการไกล่เกลี่ยเด็กก็จะเกิดความ

                       เข้าใจ
                                 นายภัทรภูมิ: ไว้วางใจคนกลางเป็นอันดับแรก ถ้าไม่รู้จักกันและทะเลาะกันเรื่องจะจบ

                       ง่ายกว่า

                                 นายเมธี: ต้องคุยกันให้รู้เรื่อง ไว้วางใจคนกลาง เพราะคนกลางเป็นคนพูดโน้มน้าว
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191