Page 187 - 21736_Fulltext
P. 187
166
นายอภิชัย: คนกลางมีความสำคัญ ไว้วางใจกัน มีเรื่องกับคนที่ไม่ใช่เพื่อน จะจบว่ายกว่า
อาจารย์ณัทธสิฐษ์: ถ้ามีความสัมพันธ์ทั้ง 2 ฝ่าย จะดี ทั้ง 2 ฝ่าย ไว้ใจคนกลาง ประเด็น
ในการทะเลาะเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ของคู่กรณี คนกลางมีความจริงใจในการแก้ปัญหา ไม่
ตัดสินเข้าข้างใดข้างอาจารย์อติชาติ
ผศ.ดร.วันวร: ความไว้วางใจเป็นหัวใจสำคัญของผู้ไกล่เกลี่ย หาลักษณะร่วมของทั้งคู่ให้
เจอ
4.4 บริบทสภาพแวดล้อมควรเป็นอย่างไร? (เช่น กฎกติกา ระบบความเชื่อเดียวกัน
ระบบเครือญาติ เป็นต้น)
อาจารย์อติชาต: การให้ทราบกติการ่วม อธิบายให้เข้าใจว่าการไกล่เกลี่ยไม่ใช่การเข้าสู่
ระบบทางกฎหมาย
อาจารย์วราวุฒิ: วางกฎกติการ่วมกัน ไม่ให้ออกนอกกรอบ
อาจารย์วรรณสวัสดิ์: อธิบายให้เข้าใจว่ากระบวนการนี้เป็นความลับ และต้องทำให้
เกิดขึ้นได้จริง
อาจารย์นเรศ: มีกติกาในการอยู่ร่วมกัน ทราบถึงนโยบายของมหาวิทยาลัย ระบบความ
เชื่อ บาปกรรม ระบบเครือญาติมีผล
อาจารย์ฐิติ: มองเชิงนโยบายของมหาวิทยาลัยที่จะทำให้กระบวนการสันติวิธีดำเนินไป
ได้ มีอิสระในการปรับปรุงระบบการไกล่เกลี่ย ทำให้เรียนรู้ไปได้เรื่อยๆ มีส่วนร่วมในเครือข่าย เห็น
มุมมองใหม่ๆ มากขึ้น รู้สึกว่าได้เรียนรู้เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา เกิดความสัมพันธ์ระหว่างทีมงาน และ
คณาจารย์ คณะทำงานกำหนดแนวทางและทำให้ที่ประชุมกิจการนักศึกษาเห็นชอบ มี ISO กำกับอยู่
(กระบวนการการสอบสวน กระบวนการทางวินัย นศ.) มีมาตรการที่สามารถตรวจสอบ ควบคุมได้โดย
ผู้บริหาร เอกสารขั้นตอนการปฏิบัติต้องชัดเจน โปร่งใส ตรวจสอบได้ ใช้หลักธรรมาภิบาลในการ
ปฏิบัติงาน
นายภัทรภูมิ: อาจารย์ของคณะและอาจารย์ฝ่ายกิจการ นศ. เป็นบริบทที่ช่วยให้การไกล่
เกลี่ยสำเร็จได้
นายเมธี: อาจารย์ของคณะและอาจารย์ฝ่ายกิจการ นศ. เป็นบริบทที่ช่วยให้การไกล่
เกลี่ยสำเร็จได้ ตัวคู่กรณี
นายอภิชัย: อาจารย์ของคณะและอาจารย์ฝ่ายกิจการ นศ. เป็น นศ. ของมหาวิทยาลัย
เดียวกัน
อาจารย์ณัทธสิฐษ์: อยู่คณะเดียวกัน สาขาเดียวกัน ลักษณะรสนิยม ความชอบ หรืองาน
อดิเรก เป็นนักกีฬาเหมือนกัน กฎระเบียบมีความสำคัญมาก บางกรณีนำกฎระเบียบเป็นที่ตั้งจึง
สามารถจบได้ วัฒนธรรม สังคมเดียวกัน