Page 189 - 21736_Fulltext
P. 189
168
นายภัทรภูมิ: สถานที่สงบ คนกลางมีเยอะจะดี
อาจารย์ณัทธสิฐษ์: สถานที่มีความเป็นส่วนตัว ไม่มีคนเดินพลุกพล่าน ห้องไม่อึดอัด โล่ง
ไม่วุ่นวาย แอร์เย็น จำนวนคนไกล่เกลี่ยควรมี 1-3 คน คู่กรณีมีเฉพาะคนที่เกี่ยวข้อง มีการแจ้ง
ผู้ปกครองให้ทราบหลังจากที่ งบประมาณ ห้องย่อยสำหรับรอการไกล่เกลี่ยพร้อมโทรทัศน์ หนังสือ
ผศ.ดร.วันวร: หัวใจสำคัญอยู่ที่องค์ความรู้และเรื่องของการจัดการ คนมีความสำคัญกว่า
ทรัพยากรเชิงกายภาพ เบี้ยเลี้ยง อาหาร ควรมีงบประมาณสำหรับการไกล่เกลี่ย
4.6 ข้อเสนอเพื่อพัฒนางานไกล่เกลี่ยควรเป็นอย่างไรบ้าง
อาจารย์อติชาต: น่าจะมีการประชาสัมพันธ์มากกว่านี้ การส่งเสริมด้านงบประมาณ
อาจารย์วราวุฒิ: บุคลากรในการไกล่เกลี่ยมีความสำคัญมาก อยากให้มีผู้ไกล่เกลี่ย
ประจำของแต่ละคณะหรือหน่วยงาน
อาจารย์วรรณสวัสดิ์: การประชาสัมพันธ์โดยปากต่อปากของเด็กๆ
อาจารย์นเรศ: อยากให้มีการฝึกอบรมด้านกระบวนการสันติวิธีให้แก่บุคลากร เพิ่ม
ปริมาณผู้ไกล่เกลี่ยให้มากขึ้น
อาจารย์ฐิติ: มองเชิงยุทธศาสตร์ภาพรวม ทำอย่างไรให้ภาคสังคมเห็นประโยชน์ของ
กระบวนการสันติวิธี และนำไปเผยแพร่ โดยการดึงอำนาจที่เหนืออยู่เป็นอำนาจร่วม การสร้าง
กระบวนการสันติวิธีสมานฉันท์ เพื่อให้คนกลัวการกระทำผิด กล้าแสดงสิทธิเสรีภาพ ขยายความคำว่า
สันติวิธีมีดีอย่างไร
นายอภิชัย: คนไกล่เกลี่ยมีความยุติธรรม เป็นกันเอง รอให้คู่กรณีใจเย็นก่อนการเข้า
กระบวนการไกล่เกลี่ย
นายเมธี: มีข้อตกลงร่วมกัน
นายภัทรภูมิ: อาจารย์ที่ปรึกษาส่งเรื่องไปให้รุ่นพี่เป็นคนกลาง ทำให้การไกล่เกลี่ยสำเร็จ
ได้มากขึ้น
อาจารย์ณัทธสิฐษ์: มีการประชาสัมพันธ์เรื่องสันติวิธี มีบทลงโทษชัดเจน ยอมรับ
กฎระเบียบ ผู้ปกครองยอมรับฟัง ให้เห็นความจริงใจของอีกฝ่าย บางเรื่องน่าจะจบได้โดยที่ไม่ทำทัณฑ์
บน
ผศ.ดร.วันวร: พัฒนาสันติวิธีและ Peace Culture การทำกิจกรรมร่วมกันของคู่ขัดแย้ง
ในโครงการสุภาพชนและโครงการ CNB (Peace Education เพื่อสร้าง Peace Culture)