Page 33 - 22373_Fulltext
P. 33
เข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ รวมถึงให้บุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษามีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ
และคุณภาพ
1.2) การจัดการศึกษาส้าหรับบุคคลพิการ บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และบุคคลที่ต้องการ
การดูแลเป็นพิเศษ มุ่งหวังเพื่อให้บุคคลพิการ บุคคลที่มีความสามารถพิเศษ และบุคคลที่ต้องการการดูแลเป็น
พิเศษได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึงเต็มศักยภาพ ผ่านแนวทางจัดการเรียนการสอนส้าหรับบุคคลที่มีความต้องการ
จ้าเป็นพิเศษ คือ (1) จัดรูปแบบการจัดการศึกษาส้าหรับบุคคลที่มีความต้องการจ้าเป็นพิเศษซึ่งจะต้องมีความ
ยืดหยุ่น หลากหลาย ทั งการศึกษาในระบบ นอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษาทางเลือกใน
รูปแบบอื่น ๆ ครอบคลุมการศึกษาตั งแต่ระดับปฐมวัย การศึกษาภาคบังคับ การศึกษาขั นพื นฐาน อาชีวศึกษา
จนถึงระดับอุดมศึกษา โดยการจัดการศึกษานั นจัดขึ นเพื่อมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาตามธรรมชาติ ความสามารถ
ของบุคคลที่มีความจ้าเป็นพิเศษเป็นรายบุคคล (2) ส้ารวจ ค้นหา คัดกรอง หรือคัดสรรบุคคลที่มีความต้องการ
จ้าเป็นพิเศษโดยชุมชน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดท้าเป็นข้อมูล
สารสนเทศเพื่อช่วยพัฒนาเป็นรายบุคคลให้ตรงกับความต้องการและความสามารถของแต่ละบุคคล และเปิด
โอกาสให้ภาคเอกชน สถาบันทางสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มีส่วนร่วมในการจัดท้าหลักสูตร
เฉพาะส้าหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจ้าเป็นพิเศษ (3) ผลิต สรรหา และพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาและ
บุคลากรวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องที่สามารถช่วยเหลือและให้การสนับสนุนบุคคลที่มีความจ้าเป็นพิเศษในการเรียน
ได้ (4) พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของบุคคลที่มีความต้องการจ้าเป็นพิเศษ เพื่อเป็นฐานข้อมูลในการบริหาร
จัดการด้านการศึกษาให้เป็นปัจจุบันและทันสมัย มีการเชื่อมโยงฐานข้อมูลของทุกหน่วยงานให้เป็นเอกภาพ
(5) รัฐจัดสรรทรัพยากรทางการศึกษา งบประมาณ อาคารสถานที่ สื่อ เทคโนโลยีบริการ สิ่งอ้านวยความ
สะดวก และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษาแก่สถานศึกษา เพื่อให้สามารถจัดเป็นสิ่งอ้านวยความสะดวก
แก่บุคคลที่มีความจ้าเป็นพิเศษได้อย่างเหมาะสม
1.3) การยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในพื นที่ห่างไกล หรือในสถานศึกษาที่ต้องมีการ
ยกระดับคุณภาพอย่างเร่งด่วน โดยให้ด้าเนินการตามมาตรการความช่วยเหลือที่จ้าเป็นตามความเหมาะสมของ
แต่ละสภาพ ได้แก่ การจัดสรรงบประมาณตามข้อเท็จจริงของแต่ละโรงเรียนในแต่ละพื นที่เหนือไปจากเกณฑ์
ที่ใช้ส้าหรับโรงเรียนโดยทั่วไป เพิ่มขีดความสามารถของครูให้สามารถสอนแบบคละชั นเรียนได้และข้ามสาขา
วิชาได้ โดยอาศัยสภาพที่มีนักเรียนน้อยและครูมีความใกล้ชิดกับนักเรียนได้มาก ซึ่งเอื อต่อการสร้างคุณภาพ
การเรียนรู้ ปรับปรุงเนื อหาโดยเน้นเนื อหาตามชั นปี จัดสิ่งแวดล้อมโรงเรียนให้เอื อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ และ การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
จัดดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อการเรียนรู้เพื่อให้ครูและนักเรียนสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ได้ตามความสนใจ
ผ่านทางโทรทัศน์ทางไกลหรืออินเทอร์เน็ต นอกจากนี ยังเชื่อมโยงให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
ผ่านการสนับสนุนทั งเงินทุนและเทคโนโลยี และให้กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือ
นักเรียนที่ขัดสนตามความจ้าเป็น
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 (ส้านักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560) ได้ระบุ
ประเด็นเรื่องความเสมอภาคทางการศึกษาในยุทธศาสตร์ที่ 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความ
เท่าเทียมทางการศึกษา โดยมีเป้าหมายและแนวทางการพัฒนา 3 ประการ ได้แก่ (1) ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาส
และความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ โดยมีตัวชี วัดที่ส้าคัญ ได้แก่ ดัชนีความเสมอภาคของ
วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า 9