Page 32 - 22373_Fulltext
P. 32
ศึกษาธิการเป็นเจ้าภาพหลักในการด้าเนินงานและประสานงาน (3) อัตราค่าใช้จ่ายรายหัวของเด็กด้อยโอกาส
และเด็กพิการควรมีอัตราที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน เนื่องจากปัจจุบันมีการอ้างอิงจากฐาน
ค้านวณ ปี พ.ศ. 2549 โดยการค้านวนค่าใช้จ่ายรายหัวควรจะต้องค้านึงถึงความแตกต่างในมิติต่าง ๆ ได้แก่
ประเภทของสถานศึกษา ประเภทของกลุ่มเด็ก พื นที่ สภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคม และความเป็นธรรม เป็นต้น
(4) อุปกรณ์ที่จ้าเป็นต่อผู้พิการควรอยู่ในสภาพดีและพร้อมใช้งานและมีจ้านวนที่เพียงพอ หน่วยงานที่มีภารกิจ
เกี่ยวข้องควรส้ารวจข้อมูลของอุปกรณ์ของผู้พิการในแต่ละประเภท เพื่อวิเคราะห์เสนอต่อส้านักงบประมาณ
เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาอนุมัติจัดสรรงบประมาณให้ครอบคลุมจ้านวนและค่าใช้จ่ายตามความเป็น
จริง (5) ควรเร่งปรับปรุงแก้ไขกฎระเบียบต่าง ๆ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องและเอื อต่อการท้างาน
ร่วมกัน เพื่อให้สามารถบูรณาการการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านเด็กด้อยโอกาสและเด็กพิการ
สามารถร่วมกันด้าเนินการให้เกิดเป็นรูปธรรมได้จริง (6) ควรผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความช้านาญ ความ
เชี่ยวชาญพิเศษส้าหรับดูแลเด็กด้อยโอกาสและเด็กพิการเพิ่ม ทั งครู บุคลากรทางการศึกษา แพทย์ นักจิตวิทยา
เพื่อให้บุคลากรในระบบการศึกษาสามารถดูแลและเข้าถึงเด็กได้เป็นอย่างดี (7) ในการประเมินคุณภาพ
การศึกษา ควรมีการก้าหนดให้มีการประเมินโรงเรียนและผู้เรียนให้ครอบคลุมด้านทักษะอาชีพ ทักษะวิชาการ
และทักษะชีวิตในสัดส่วนตามวัตถุประสงค์ที่ก้าหนดไว้ โดยโรงเรียนควรจัดกระบวนการการเรียนการสอนให้
สอดคล้องกับการประเมิน และ (8) การประเมินคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนที่เป็นเด็กด้อยโอกาสและเด็กพิการ
ควรมีความยืดหยุ่นทั งในเรื่องของเวลาเรียน วิธีการสอน การจัดหลักสูตรและการประเมินการเรียน อีกทั ง
ควรปรับปรุงระเบียบและข้อบังคับให้โรงเรียนสามารถด้าเนินการได้เองเพื่อให้สามารถจัดการกับเด็กด้อยโอกาส
การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
และเด็กพิการที่มีความแตกต่างกันออกไปได้อย่างเป็นอิสระและสอดคล้องกับบริบท
ส้าหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) (ส้านักงานคณะ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2559) มีการกล่าวถึงการลดความเหลื่อมล ้าใน 2.2.4 การสร้าง
ความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล ้า ระบุว่าต้องการยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมให้ทั่วถึง โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งด้านการศึกษาและสาธารณสุข โดยประเด็นการพัฒนาที่ส้าคัญในด้านการลดความเหลื่อมล ้าทางการ
ศึกษามีดังนี (1) การสร้างโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่้าสุดโดยจัดบริการของรัฐ
ที่มีคุณภาพทั งทางด้านการศึกษาและสาธารณสุขให้กับผู้ด้อยโอกาสและผู้ที่อาศัยในพื นที่ห่างไกล (2) การ
กระจายการจัดบริการภาครัฐให้มีความครอบคลุมและทั่วถึง ทั งในเชิงปริมาณและคุณภาพในด้านการศึกษา
สาธารณสุข โครงสร้างพื นฐาน และการจัดสวัสดิการ รวมทั งการจัดสรรทรัพยากรให้มีการกระจายตัวอย่าง
เป็นธรรม สร้างปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจ รวมทั งการปรับกฎหมาย กฎระเบียบให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม
นอกจากนี คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูป
การศึกษา, ม.ป.ป) ยังก้าหนดการปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา โดยในประเด็นปฏิรูปที่ 3 ว่าด้วย
การปฏิรูปเพื่อลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา มีประเด็นปลีกย่อย 3 ประเด็น ได้แก่
1.1) การด้าเนินการเพื่อลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา โดยให้กองทุนเพื่อความเสมอภาคทาง
การศึกษาเป็นกลไกเพื่อช่วยลดปัญหาในการเข้าถึงการศึกษา ปัญหาการออกจากการศึกษากลางคัน และ
ปัญหาความเหลื่อมล ้าในคุณภาพของการศึกษา โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก เยาวชน และประชาชนที่ขาด
แคลนทุนทรัพย์หรือด้อยโอกาส โดยมุ่งหวังว่าทุกคนจะมีความเสมอภาคในการพัฒนาตนเองตามศักยภาพและ
8 วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า