Page 45 - 22373_Fulltext
P. 45
1) ความเสมอภาคด้านโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาของเด็กและเยาวชนแต่ละกลุ่ม ได้แก่ การที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนในพื นที่แต่ละกลุ่มได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษา
ได้แก่ การได้รับการศึกษาภาคบังคับโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สามารถเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิค อาชีวศึกษา ที่มี
ราคาที่สามารถจ่ายได้และมีคุณภาพ การได้รับการสนับสนุนการเข้าเรียนของเด็กและลดอัตราการออกจาก
โรงเรียนกลางคัน การจัดการศึกษาแบบยืดหยุ่น หลากหลาย ทั งการศึกษาในระบบนอกระบบ การศึกษาตาม
อัธยาศัยและการศึกษาทางเลือกในรูปแบบอื่น ๆ ครอบคลุมการศึกษาตั งแต่ระดับปฐมวัย การศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาขั นพื นฐาน อาชีวศึกษา เพื่อให้มั่นใจว่าทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง ไม่มีความเหลื่อมล ้า
ทางเพศในการศึกษา และสร้างหลักประกันว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมไปถึงผู้พิการ ชนพื นเมือง และเด็กเข้าถึง
การศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทียม มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาตามธรรมชาติ ความสามารถของ
บุคคลที่มีความจ้าเป็นพิเศษเป็นรายบุคคล
นอกจากนี ความเสมอภาคทางการศึกษาในการศึกษาครั งนี ยังเป็นการศึกษาปัญหาความเหลื่อมล ้า
ทางการศึกษามีมิติของปัญหาที่กว้างกว่าปัญหาทางเศรษฐกิจ อาทิ ปัญหาทางสุขภาพ ปัญหาทางการเรียนรู้
2) ความเสมอภาคด้านคุณภาพทางการศึกษาในแต่ละพื นที่ ได้แก่ การที่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดความเสมอภาคด้านคุณภาพทางการศึกษาในแต่ละพื นที่ ได้แก่ การศึกษา
ที่สอดคล้องกับศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ของเด็ก การได้พัฒนาบุคลิกภาพ ความสามารถพิเศษ และความ
สามารถทางด้านร่างกายและจิตใจของเด็กให้เต็มศักยภาพของเด็กแต่ละคน การได้พัฒนาความเคารพต่อ
สิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั นพื นฐานที่ถูกระบุไว้ในกฎบัตรสหประชาชาติ การได้พัฒนาความเคารพต่อบิดา
มารดา เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ภาษา และค่านิยม ทั งค่านิยมของตนเองและของผู้อื่น การได้เตรียมความ
พร้อมต่อการมีความรับผิดชอบในสังคมที่เสรีด้วยจิตส้านึกแห่งความเข้าใจกัน สันติภาพ ความอดกลั น ความ
เสมอภาคทางเพศ และให้เด็กได้เคารพต่อสิ่งแวดล้อม เด็กและเยาวชนสามารถอ่านออกเขียนได้และค้านวณได้
ได้รับการสร้างเสริมให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองโลก มีจิตส้านึกในเรื่องสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ
และส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขไม่ใช้ความรุนแรง
1.4.3 การด้าเนินงาน งานวิจัยครั งนี เป็นการด้าเนินการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติ โดยขับเคลื่อนให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยการด้าเนินการตามขั นตอน 5 ขั นตอนที่ส้าคัญ ได้แก่ ขั นเสาะหาข้อเท็จจริง ขั น
ปักหมุดเป้าหมาย ขั นพัฒนาทางออกที่สร้างสรรค์ ขั นลงมือท้า และขั นติดตาม ประเมินผล และพัฒนาต่อเนื่อง การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
โดยขึ นอยู่กับศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีรายละเอียดดังนี
ขั นที่ 1 เสาะหาข้อเท็จจริง ได้แก่
1.1) ท้าการส้ารวจในพื นที่ว่า มีความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา ทั งในด้านโอกาสในการเข้าถึง
การศึกษาและคุณภาพทางการศึกษาหรือไม่ อย่างไร
1.2) ท้าการส้ารวจในพื นที่ว่า เด็กและเยาวชนกลุ่มใดจากกลุ่มเป้าหมายทั ง 4 กลุ่มหลัก 7 กลุ่ม
ย่อยประสบกับความเหลื่อมล ้าทางการศึกษาหรือไม่ อย่างไร
1.3) ท้าความเข้าใจปัญหาให้ลึกซึ งมากที่สุด โดยวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาอย่างรอบด้านใน
หลากหลายมิติ เพื่อน้าไปสู่การค้นหาทางออกที่ตอบโจทย์มากที่สุด
วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า 21