Page 30 - b29259_Fulltext
P. 30

ภาค 2 : ข้อความคิดและหลักการว่าด้วย

                           สภาผู้แทนราษฎร





        1.    อ�านาจนิติบัญญัติ

        ก) ความหมาย


               หากกล่าวกันในทางวิชาการอย่างจำากัดครัดเคร่งแล้ว “อำานาจรัฐ”
        หรือ “State Power” ประกอบไปด้วยมิติมากมายหลายอย่าง ทั้งนี้

        เพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจและตอบสนองการปกครองที่มีประสิทธิภาพ
        สูงสุด โดยมิติหนึ่งที่สำาคัญของอำานาจรัฐนี้คือ มิติในทางนิติบัญญัติ

        หรือที่เราคุ้นชินและเรียกกันอย่างติดปากว่า “อำานาจนิติบัญญัติ”
                          39
        (Legislative Power)  คำาถามที่พื้นฐานที่พึงต้องทำาความเข้าใจ ณ ที่นี้คือ
        อำานาจนิติบัญญัติคืออะไร?


               เราอาจจำาแนกแยกแยะการให้บทนิยาม หรือความหมายของ
        “อำานาจนิติบัญญัติ” ได้ 2 วิธีด้วยกันดังนี้


               1. บทนิยามโดยปริยาย (Negative Definition)


               ความหมายของ “อำานาจนิติบัญญัติ” ตามบทนิยามโดยปริยาย
        คือ อำานาจที่มิใช่อำานาจบริหารและอำานาจตุลาการ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ


        39   จอห์น ล็อค (John Locke) ปรัชญาเมธีผู้โด่งดังชาวอังกฤษได้กล่าวว่าอำานาจ
        นิติบัญญัตินั้นถือเป็นอำานาจที่สำาคัญที่สุดในการปกครอง ทั้งนี้เพื่อธำารงค์ไว้ซึ่งสังคม
        อย่างสงบสุข


     30
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35