Page 35 - b29259_Fulltext
P. 35

3.   ที่มาและองค์ประกอบของสภาผู้แทนราษฎร

               ตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง ฝ่ายนิติบัญญัติ

        สำาหรับประเทศที่มีรูปแบบรัฐสภาเดี่ยว หรือเป็นองค์กรประกอบของฝ่าย
        นิติบัญญัติสำาหรับประเทศที่มีรูปแบบรัฐสภาคู่แล้วแต่กรณี สภาผู้แทนราษฎร

                                                      53
        ถือเป็นองค์กรตามรัฐธรรมนูญ (Constitutional Organ)  กล่าวคือ เป็น
        องค์กรที่ถือกำาเนิดเกิดขึ้นจากการสถาปนาจากรัฐธรรมนูญและใช้อำานาจ
        ที่ได้รับมอบมาจากรัฐธรรมนูญ หรือที่เรียกกันในทางวิชาการว่า “อำานาจ

        ระดับรัฐธรรมนูญ” (Constitutional Power) ซึ่ง ณ ที่นี้ก็คือ อำานาจ
        นิติบัญญัติ (Legislative Power) 54


               “รูปร่างหน้าตา” ของสภาผู้แทนราษฏรจะเป็นเช่นไรขึ้นอยู่กับ
        การกำาหนดผ่านบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ กล่าวอีกนัยหนึ่ง สภาผู้แทนราษฎร

        จะประกอบไปด้วยบุคคลผู้เข้ามาดำารงตำาแหน่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทน
                                           55
        จำานวนเท่าใดรัฐธรรมนูญจะเป็นตัวกำาหนด  ดังนั้น เราจึงมิอาจกำาหนดได้
        อย่างชัดเจนว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละประเทศจะมีจำานวน

        เท่าใดอย่างชัดเจนแน่นอน แม้กระทั่งในประเทศหนึ่ง ๆ เอง ด้วยเวลา
        ที่ผิดแผกแตกต่างกันในแต่ละยุคสมัยก็อาจมีกำาหนดจำานวนของสมาชิก

        สภาผู้แทนราษฎรที่แตกต่างกันไปอีก ทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับว่าประเทศนั้น ๆ
        มีการกำาหนดจำานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบนหลักคิดใด อาทิ

        บททั่วไป มาตรา 26 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490
        53   Susanne Linn and Frank Sobolewski, Bundestag: Functions and
        Procedures 82 (2015).
        54    Rudolf Streinz, The Role of the German Federal Constitutional
        Court: Law and Politics, R. L. R. 96 (2003).
        55    Parliamentary Papers, Vol.49, Part 2 13000 (1846).


                                 หลักสูตรเตรียมความพร้อมส�าหรับการเมืองระดับชาติ  35 35
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40