Page 55 - kpiebook62001
P. 55

ภาพที่ 3.5 สัมประสิทธิ์จินีด้านรายได้ และสัดส่วนรายได้ของกลุ่มที่จนที่สุดกับรวยที่สุดร้อยละ 20

                        60.0                                                                        1.000
                              50.7
                        50.0                                                                  43.9  0.800

                        40.0
                                                                                                    0.600
                        30.0  0.439
                                                                                              0.364
                                                                                                    0.400
                        20.0


                        10.0  6.1                                                              7.2  0.200


                         0.0                                                                        0.000
                                2531   2535  2539   2543  2547  2550   2552  2554   2556  2558   2560


                                   สัดส่วนรายจ่าย (Q1)    สัดส่วนรายจ่าย (Q5)    สัมประสิทธิ์จินีด้านรายจ่าย

               ที่มา: ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

                       แม้ว่ามิติด้านรายได้และรายจ่ายจะวัดและน ามาค านวณได้ไม่ยาก แต่ก็อาจฉายภาพความเหลื่อมล้ าได้ไม่

               ครบถ้วน ความเหลื่อมล้ ายังน ามาศึกษามิติด้านสังคมได้ งานศึกษาของ ศรพล ตุลยะเสถียร และคณะ (2560) ได้

               รวบรวมสถิติความเหลื่อมล้ าด้านอื่น ๆ ในประเทศไทยโดยแบ่งเป็น
                       (1) ความเหลื่อมล ้าในเชิงผลลัพธ์ของการพัฒนาเศรษฐกิจ (Output inequality) หรือความเหลื่อมล้ าที่

               แสดงออกด้านผลลัพธ์ เช่น การถือครองทรัพย์สิน ในปี พ.ศ. 2555 กลุ่มผู้ถือครองที่ดินมากที่สุดในประเทศร้อยละ 10

               มีที่ดินถึงร้อยละ 61.5 ของที่ดินทั้งหมด และห่างจากกลุ่มผู้ถือครองที่ดินน้อยที่สุดถึงร้อยละ 853.6 เท่า
                       (2) ความเหลื่อมล ้าในเชิงโอกาสการเข้าถึงปัจจัยขั นพื นฐานในการด้ารงชีพ (Input inequality) ได้แก่

                       - ด้านการศึกษา เช่น ในปี พ.ศ. 2558 พบว่ากลุ่มประชากรที่มีฐานะดีที่สุดร้อยละ 10 มีโอกาสเข้าถึงการศึกษา

               ระดับปริญญาตรีและ ปวส. ได้มากกว่าร้อยละ 10 ล่างสุดถึง 17.4 เท่า
                       - บริการด้านสาธารณะสุข เช่น ในปี พ.ศ. 2558 พบว่าแพทย์กระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยแพทย์ 1 คน

               รับผิดชอบคนไข้ 716 ในขณะที่ภูมิภาคอื่น ๆ ต้องรับผิดชอบคนไข้ 3,207 คน

                       - สวัสดิการสังคม เช่น กลุ่มคนที่จนที่สุดร้อยละ 10 มีผู้สูงอายุที่ยังไม่ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุจ านวนร้อยละ 9.9
               และผู้พิการที่ไม่ได้รับเบี้ยยังชีพคนพิการจ านวนร้อยละ 33.7

                       - ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น กลุ่มคนที่จนที่สุดร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับกลุ่มคนที่รวยที่สุดร้อยละ 10 แล้ว

               สามารถเข้าถึงโทรศัพท์พื้นฐาน คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์เน็ต ได้น้อยกว่า 50.1 13.9 และ 43.9 เท่าตามล าดับ
                       นอกจากนั้นยังมีความเหลื่อมล้ าในด้านอื่น ๆ อย่างทางด้านเพศ ด้านอาชีพ การมีส่วนร่วมทางการเมือง และ

               กระบวนการยุติธรรม การเข้าถึงทรัพยากรและโอกาสต่าง ๆ เป็นต้น ถึงแม้ว่าข้อเท็จจริงเหล่านี้จะช่วยให้เห็นภาพความ

                                                               46
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60