Page 28 - kpiebook62016
P. 28

11






                       ตารางที่ 1.2 ประเด็นที่ศึกษา(ต่อ)


                         คุณสมบัติของการเป็นประชาธิปไตยที่มั่นคงไม่  ประเด็นที่ใช้ศึกษา   ปัจจัยส าคัญร่วมกันที่

                              ย้อนกลับไปสู่ระบอบอ านาจนิยม             เปรียบเทียบ         ส่งผลต่อการสร้าง
                                                                                          ประชาธิปไตยที่มั่นคง
                       มิติที่ 3 ด้านทัศนคติและวัฒนธรรมการเมือง  5. บทบาทของกองทัพ      4.พร้อมที่จะประนีประนอม
                       (Cultural  and  Attitudinal  Dimension) มีความส าคัญ 6. การจัดต าแหน่งแห่งที่ 5.กองทัพไม่แทรกแซง

                       ไม่แพ้สองมิติแรก กล่าวคือ ตัวแสดงหลักทางการเมือง  ให้แก่กองทัพ   การเมือง (No Military
                       เช่น กองทัพ ระบบราชการ กลุ่มทุน สื่อมวลชน และ 7. บทบาทของกลุ่มต่างๆ  Interventions)

                       ประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศต้องยอมรับในความ ในสังคม
                       จ าเป็น ความส าคัญและความชอบธรรมของระบอบ 8. ทัศนคติต่อระบอบ

                       ประชาธิปไตยเหนืออื่นใด กว่าระบอบอื่น หรือวิถีทางอื่น  ประชาธิปไตย
                       ไม่ว่าสังคมจะเผชิญวิกฤติหรือปัญหาใด ทัศนคติต่อ
                       ประชาธิปไตยของคนในสังคมอาจลดหย่อนลงได้ แต่

                       จะต้องไม่ถึงขั้นที่แสวงหาหรืออ้าแขนรับระบอบอื่นมา
                       ทดแทนระบอบประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตยจะ
                       ตั้งมั่น ยืนหยัด ไม่ถดถอย เมื่อทัศนคติกลายเป็นจิต

                       วิญญาณที่หล่อหลอมคนในชาติ ไม่ว่าจะเป็นในเชิง
                       การเมือง เศรษฐกิจ สังคมหรือวัฒนธรรม





                              นอกจากมิติทั้ง 3 ด้าน ที่เป็นคุณสมบัติของประชาธิปไตยที่ตั้งมั่นแล้ว ผู้เขียนยังค านึงถึง 2
                       ประเด็นส าคัญที่เกี่ยวข้องกับการจรรโลงประชาธิปไตย (Democratic consolidation) ได้แก่


                              ประการแรก ผู้เขียนค านึงถึงข้อจ ากัดในการเปลี่ยนผ่านแบบเส้นตรง โดยเห็นว่า การศึกษา

                       เรื่องการเปลี่ยนผ่านและกระบวนการจรรโลงประชาธิปไตย ไม่ควรยึดติดกับการพัฒนาประชาธิปไตย

                                                                                           30
                       แบบเส้นตรง (Linear  development) จาก “ไม่เป็น” ไปสู่ “เป็น” ประชาธิปไตย  ผู้เขียนมีมุมมองใน
                       เบื้องต้นว่า กรอบคิดดังกล่าวมีอคติในการศึกษาที่น าประเด็น “เป้าหมายปลายทาง” ของการจรรโลง
                       ประชาธิปไตยมาเป็นตัวตั้ง โดยมองไม่เห็นปัญหาในประเทศประชาธิปไตยเกิดใหม่ซึ่งหลายปัญหาอยู่

                       ในพื้นที่สีเทา (Gray  zone) ที่ไม่ใช่ทั้งเผด็จการเต็มรูปและประชาธิปไตยเต็มขั้น แต่เป็นรูปแบบของ



                       30  Thomas Carothers, "The End of the Transition Paradigm," Journal of Democracy vol. 13, no. 1 (2002): 5-21.
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33