Page 220 - kpiebook65010
P. 220
แนวทางและวิธีการวิเคราะห์
ผลกระทบทางสังคมในการตรากฎหมาย
ประเด็น ไทย EU สหราชอาณาจักร ไอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์
1. มีกฎหมาย มีกำหนดใน ไม่มี ไม่มี ไม่มี มีกำหนดใน มีกำหนดใน
กำหนดแนวทาง กฎหมายและ กฎหมายลำดับรอง กฎเกณฑ์เชิง
และวิธีการ กฎหมายลำดับรอง แบบกว้าง ๆ แนะนำ (circular)
วิเคราะห์ แบบกว้าง ๆ
ผลกระทบหรือไม่
2. กฎเกณฑ์ โดยหลักใช้เฉพาะ กฎหมาย นโยบาย กฎหมาย นโยบาย กฎหมายทุกฉบับ กฎหมาย กฎหมาย ทั้งกฎหมาย และ
ประเภทที่อยู่ใน ร่างกฎหมายระดับ และการดำเนินการ และการดำเนินการ และกฎหมาย ลำดับรองและ กฎหมายลำดับรอง
บังคับต้องทำ RIA พระราชบัญญัติ อื่นที่เข้าลักษณะ อื่นที่เข้าลักษณะ ลำดับรองที่จะส่ง ข้อเสนอทาง เว้นแต่เข้าประเภท
ตามข้อ 3 ตามข้อ 3 ผลกระทบอย่าง นโยบาย ที่ได้รับยกเว้น
สำคัญ
3. มีการจำแนก ไม่มี ข้อเสนอทาง ทำ RIA เฉพาะ ทำ RIA เต็ม ไม่ระบุ ข้อเสนอทาง
ประเภทร่าง กฎหมาย/นโยบาย ข้อเสนอทาง รูปแบบเฉพาะ กฎหมาย/นโยบาย
ข้อเสนอทาง ที่มีแนวโน้มจะส่ง กฎหมายและ ข้อเสนอทาง ที่ไม่ต้องทำ RIA
กฎหมาย/ ผลกระทบอย่างมี นโยบายที่จะส่ง กฎหมายที่จะส่ง ได้แก่บรรดาที่ไม่
นโยบายที่ต้องทำ นัยสำคัญด้าน ผลกระทบต่อ ผลกระทบอย่าง ส่งผลกระทบหรือ
RIA หรือไม่ (RIA เศรษฐกิจ การจัดทำบริการ สำคัญ ส่งผลกระทบเพียง
screening) สิ่งแวดล้อม หรือ สาธารณะ เล็กน้อยรวมทั้งที่
สังคม ความเป็นอยู่ของ กรณีเข้าข้อยกเว้น
ประชาชน ด้วยเหตุผลทาง
ภาคเอกชน เทคนิคหรือกรณีที่
ภาคประชาสังคม กระทรวงการคลัง
เห็นว่าไม่ต้องทำ
4. มีการจำแนก มีกำหนดใน ไม่มี มีกำหนดในคู่มือ มีการกำหนด มีการกำหนด ไม่ระบุ
ประเภทหรือ พระราชบัญญัติ และแนวทาง ในคู่มือจำนวน 8 กลุ่มผลกระทบ
กำหนดขอบเขต ดำเนินการ 7 ประเด็นที่ต้อง ที่ต้องพิจารณา
ของผลกระทบ ทำการพิจารณา
หรือกำหนด
ตัวอย่างที่ต้อง
วิเคราะห์หรือไม่
5. มีการกำหนด ไม่มี (มีเพียงการ มี มี มี มี มี
ขั้นตอนย่อย ๆ กำหนดขั้นตอน
และแนวทางของ โดยรวมของการทำ
ขั้นตอนย่อยของ และการพิจารณา
การวิเคราะห์ RIA และการ
ผลกระทบหรือไม่ จำแนกผลกระทบ
แต่ละด้าน)
6. มีการกำหนด ไม่มี มีการกำหนด เช่น มีการกำหนด เช่น มีการกำหนด เช่น มีการกำหนดการวิ ไม่กำหนด
แนวทางเฉพาะ Gender Impact การวิเคราะห์ poverty impact เคราะห์ผลกระทบ
ของการวิเคราะห์ Assessment equalities assessment ต่อ SMEs และ
ผลกระทบทาง analysis ผลกระทบต่อ
สังคมหรือไม่ ความเท่าเทียมทาง
เพศ
สถาบันพระปกเกล้า
208