Page 231 - kpiebook65020
P. 231
192
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
(โปรดใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในหน้า 2-4 ในเอกสารประกอบการประชุมเชิง
ปฏิบัติการประกอบในการเขียนรายงานในส่วนนี้)
แก้ไขปัญหาอย่างไร 1. ทางเลือกที่ไม่ต้องตราเป็นกฎหมาย
1.1) รัฐไม่จ าเป็นต้องแทรกแซง หากผลการพิจารณาต้นทุนและประโยชน์ของ
การแทรกแซงนั้นพบว่าการไม่ด าเนินการแทรกแซงของรัฐจะก่อให้เกิด
ประโยชน์สุทธิสูงสุด
1.2) ให้มีการปล่อยเช่าระยะสั้นได้โดยไม่ต้องมีการขอใบอนุญาต แต่ให้ผู้บริการ
แพลตฟอร์มเช่น Airbnb ก ากับดูแลผู้ปล่อยเช่าระยะสั้นแทนรัฐ
1.3) ให้มีการใช้กฎหมายอาคารชุดเพื่อก ากับดูแลการปล่อยเช่าระยะสั้น ผ่าน
นิติบุคคลอาคารชุด (คอนโดมิเนียม) โดยนิติบุคคลอาคารชุดต้องไปออกกฎใน
การก ากับดูแลเอง กฎอาจแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับข้อตกลงของผู้อยู่อาศัย
ในคอนโดมิเนียมนั้น ๆ เช่น อาจออกกฎให้ผู้ปล่อยเช่าระยะสั้นผ่าน
แพลตฟอร์มต้องเสียค่ามัดจ าเพิ่มเติมกับนิติบุคคลหรือต้องเสียค่าปรับหากมี
เรื่องร้องเรียนจากผู้อาศัยร่วม
2. ทางเลือกที่ต้องตราเป็นกฎหมาย
2.1) เสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายอาคารชุดเพื่อเพิ่มรูปแบบการปล่อยเช่าระยะ
สั้นแบบมีเงื่อนไขไม่เกิน 30 วัน และก าหนดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตาม
กฎหมาย
2.2) เสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายอาคารชุด โดยเพิ่มระบบการขอใบอนุญาต
การปล่อยเช่าระยะสั้นโดยรัฐ และก าหนดให้มีการตรวจสอบการปฏิบัติตาม
กฎหมาย
หน่วยงานผู้รับผิดชอบ กรมการปกครองและกรมที่ดิน กระทรวงมหาดไทย
หัวข้อที่ 2 ความจ าเป็นในการตรากฎหมาย
จ าเป็นหรือควรต้องแทรกแซงหรือไม่
มีความซ้ าซ้อนกับกฎหมายฉบับอื่นหรือไม่
มีทางเลือกอื่นที่ไม่ใช่การตรากฎหมายหรือไม่
ประเด็นการวิเคราะห์ แนวทางการวิเคราะห์
จ าเป็นต้องแทรกแซงหรือไม่ ธุรกิจการเช่าที่พักระยะสั้นผ่านแพลตฟอร์มเป็นสินค้าเอกชน (private goods)
แต่อย่างไรก็ดี ธุรกิจดังกล่าวอาจมีผลกระทบต่อบุคคล ซึ่งเป็นผู้อยู่อาศัยเดิมใน
อสังหาริมทรัพย์นั้น และเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการแข่งขันในตลาด
ธุรกิจบ้านพักตากอากาศและให้การแข่งขันดังกล่าวเป็นไปอย่างเป็นธรรม