Page 235 - kpiebook65020
P. 235

196
                                                                                     รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
                                    โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”

               มาตรการป้องกัน แก้ไข คุ้มครอง ทางเลือกที่น าไปสู่การออกกฎหมาย ได้แก่ ทางเลือกที่ 4 และ 5 ซึ่งจะต้อง
               หรือเยียวยา ในกรณีที่ร่าง      พิจารณามาตราการในการป้องกันแก้ไขคุ้มครอง และเยียวยา ผู้ได้รับ

               กฎหมายอาจส่งผลกระทบ            ผลกระทบโดยตรง ดังนี้
               โดยตรงต่อผู้เกี่ยวข้องอย่างมี  ทางเลือกที่ 4 การปล่อยเช่าระยะสั้นแบบมีเงื่อนไข
               นัยส าคัญ                            ผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงอย่างมีนัยส าคัญ ได้แก่ ผู้ให้บริการ

                                                     แพลตฟอร์ม โดยภาครัฐ ได้แก่ ส านักงานเขต หรือหน่วยงานที่
                                                     เกี่ยวข้องที่รับผิดชอบมีหน้าที่อ านวยความสะดวกในการให้ข้อมูลกับ
                                                     ผู้ให้บริการแพลตฟอร์มและผู้เข้าพักเพื่อเยี่ยวยาภาระในการท าตาม

                                                     กฎหมายที่เกิดขึ้นกับผู้ได้รับผลกระทบ
                                              ทางเลือกที่ 5 การใช้ระบบใบอนุญาตปล่อยเช่าระยะสั้น
                                                    ผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงอย่างมีนัยส าคัญ ได้แก่ เจ้าของห้องพัก
                                                     ระยะสั้น ในกรณีที่เจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ดุลพินิจในการอนุญาต โดย

                                                     กฎหมายต้องก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการขอใบอนุญาตให้
                                                     ชัดเจน ตลอดจนก าหนดขั้นตอนในการขอใบอนุญาตที่ง่าย สะดวก
                                                     และมีค่าใช้จ่ายในการด าเนินการต่ า นอกจากนี้ ยังต้องก าหนดระบบ

                                                     การอุทธรณ์การใช้ดุลพินิจในการออกใบอนุญาตของเจ้าหน้าที่ให้มี
                                                     ความเป็นธรรม และมีกรอบระยะเวลาในการพิจารณาอุทธรณ์ที่
                                                     ชัดเจนและไม่เป็นอุปสรรคในการด าเนินธุรกิจ


               3.3 ตัวอย่างการเขียนรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย (Checklist)

                       จากการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก
               กฎหมายตามกรณีศึกษาเรื่อง “การปล่อยเช่าระยะสั้นผ่านแพลตฟอร์ม” ตามที่คณะที่ปรึกษาได้น าเสนอ
               ตัวอย่างการวิเคราะห์ความจ าเป็นในการตรากฎหมายและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย
               ในหัวข้อก่อนหน้านี้ หากหน่วยงานของรัฐพิจารณาแล้วเห็นว่า การแก้ไขปัญหาการปล่อยเช่าระยะสั้นผ่าน

               แพลตฟอร์มนั้น ไม่จ าเป็นต้องมีการตรากฎหมาย กล่าวคือ หน่วยงานพิจารณาที่จะใช้ทางเลือกที่ 1 รัฐไม่
               ด าเนินการแทรกแซง หรือ ทางเลือกที่ 2 การก ากับดูแลกันเอง หรือทางเลือกที่ 3 ระบบจัดการปัญหาด้วย
               กฎหมายอาคารชุด  ในการแก้ไขปัญหา หน่วยงานไม่จ าเป็นต้องมีการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่

               อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย (Checklist) แต่อย่างใด  แต่หากหน่วยงานพิจารณาแล้วเห็นว่า การแก้ไขปัญหา
               ดังกล่าวจ าเป็นต้องมีการตรากฎหมาย กล่าวคือ หน่วยงานพิจารณาทางเลือกที่ 4 การปล่อยเช่าระยะสั้นแบบมี
               เงื่อนไข หรือทางเลือกที่ 5 การใช้ระบบใบอนุญาตปล่อยเช่าระยะสั้น ในการแก้ไขปัญหา จึงต้องจัดท ารายงาน
               การวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย
                       เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิธีการเขียนรายงานวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย

               คณะผู้วิจัยจึงสมมติขอเท็จจริงว่า หน่วยงานตัดสินใจใช้ทางเลือกที่ 5 การใช้ระบบใบอนุญาตปล่อยเช่าระยะสั้น
               ในการแก้ไขปัญหา เนื่องจากเป็นทางเลือกที่มีประโยชน์สุทธิสูงสุดและเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดเมื่อเทียบกับ
               ทางเลือกอื่น ๆ  โดยน าไปสู่การแก้ไขกฎหมายพระราชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547  โดยการเพิ่มบทนิยามของ

               ธุรกิจการเช่าที่พักระยะสั้นและก าหนดมาตราการทางกฎหมายในการก ากับดูแลธุรกิจการเช้าที่พักระยะสั้น
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240