Page 232 - kpiebook65020
P. 232
193
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
ดังนั้น รัฐอาจพิจารณาแทรกแซงในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว หากว่าต้นทุนใน
การด าเนินการต่ าและประโยชน์ที่ได้จากการแทรกแซงของรัฐมีมากกว่า
(โปรดดูประเด็นตลาดล้มเหลวและการแทรกแซงของรัฐ ในหัวข้อ 3.1.1
ความหมาย ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกกฎหมาย (Regulatory Theory)
ของรายงานวิจัยเรื่อง องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความ
จ าเป็นในการตรากฎหมาย)
มีความซ้ าซ้อนกับกฎหมายฉบับ การแก้ไขปัญหาดังกล่าวสามารถท าได้โดยการแก้ไขพระราชบัญญัติโรงแรม
อื่นหรือไม่ และพระราชบัญญัติอาคารชุด โดยไม่จ าเป็นต้องตราเป็นกฎหมายใหม่
มีทางเลือกอื่นที่ไม่ใช่ตรากฎหมาย มี 3 แนวทาง
หรือไม่ แนวทางแรก รัฐไม่จ าเป็นต้องแทรกแซง หากผลการพิจารณาต้นทุนและ
ประโยชน์ของการแทรกแซงนั้นพบว่าการไม่ด าเนินการแทรกแซงของรัฐจะ
ก่อให้เกิดประโยชน์สุทธิสูงสุด
แนวทางที่สอง ให้มีการปล่อยเช่าระยะสั้นได้โดยไม่ต้องมีการขอใบอนุญาต แต่
ให้ผู้บริการแพลตฟอร์มก ากับดูแลผู้ปล่อยเช่าระยะสั้นแทนรัฐ
แนวทางที่สาม ให้มีการใช้กฎหมายอาคารชุดเพื่อก ากับดูแลการปล่อยเช่า
ระยะสั้นผ่านแพลตฟอร์มผ่านนิติบุคคลอาคารชุด (คอนโดมิเนียม)
หัวข้อที่ 3 ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย
ผู้เกี่ยวข้องมีผู้ใดบ้าง
ผลกระทบมีอะไรบ้าง
มีวิธีการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบอย่างไร
ประเด็นการวิเคราะห์ แนวทางการวิเคราะห์
มีใครเกี่ยวข้องบ้าง ผู้มีส่วนได้เสีย (stakeholder) มี 3 ประเภท ได้แก่
(1) หน่วยงานรัฐ กรมการปกครอง กรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวแห่ง
ประเทศไทย (ททท.)
(2) ผู้ประกอบการเอกชน ผู้ประกอบการโรงแรม ผู้ปล่อยเช่าบ้านหรือเจ้าของ
ห้องชุดผ่านแพลตฟอร์ม ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัทจัดการนิติบุคคล
(3) ผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นที่อาจได้รับผลกระทบ ได้แก่ เจ้าของห้องที่เป็นผู้อยู่
อาศัยร่วม