Page 230 - kpi15476
P. 230
การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15 229
ทศพิธราชธรรม หรือ พระราชกรณียกิจและเหตุการณ์ที่สอดคล้อง
คุณธรรมผู้นำสิบประการ
โปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนแบบฝรั่ง ขุดคลองขนส่งทางน้ำ สร้างสะพาน
ข้ามคลองเชื่อมถนน เพื่อให้การคมนาคม ขนส่งได้สะดวกต่อการสัญจร
ของราษฏร การขนส่งลำเลียงสินค้า และยังเป็นศรีสง่าแก่บ้านเมือง ในด้าน
การแพทย์ พระองค์ทรงยอมรับความเจริญทางด้านการแพทย์มาใช้ใน
ราชสำนัก โปรดให้ใช้ทั้งการรักษาพยาบาลแบบไทยและแบบตะวันตก
ในด้านศิลปวัฒนธรรม ทรงริเริ่มจัดให้มีพิพิธภัณฑ์สถานขึ้นในประเทศ
ไทย ฯลฯ
ธรรมะข้อ 7. อักโกธะ การที่พระองค์ทรงต้องอดกลั้นและขมขื่นพระราชหฤทัย และมิได้ทรงมี
ความไม่โกรธ ทรงมีพระกริยาที่ ความไว้วางพระราชหฤทัยในความเป็นมิตรของประเทศมหาอำนาจ
ไม่โกรธโดยวิสัย มิใช่เหตุที่ควร ตะวันตก หลังจากที่ทรงเห็นว่า ฝรั่งเศสพยายามใช้อิทธิพลช่วงชิงเขมรไป
โกรธ แม้มีเหตุที่ให้ทรงพระพิโรธ จากไทย โดยอ้างว่าฝรั่งเศสเป็นผู้สืบสิทธิญวนเหนือเขมร และเขมรเคย
แต่ทรงข่มเสียให้อันตรธานสงบ เป็นประเทศราชของญวน แต่เมื่อทรงพิจารณาถึงข้อดีข้อเสียที่จะเกิดขึ้น
ระงับไป ด้วยทรงมีพระเมตตาอยู่ โดยเฉพาะเรื่องของการรักษาความเป็นเอกราชของชาติเป็นสำคัญ
เสมอ พระองค์ยังทรงพยายามใช้วิถีการทางทูตในการแก้ปัญหาต่อไป ทรงใช้
นโยบายไม่ผูกมัดกับมหาอำนาจชาติเดียว แต่ทรงใช้การถ่วงดุลกับประเทศ
มหาอำนาจหนึ่ง โดยมีสัมพันธภาพกับประเทศมหาอำนาจอื่นด้วย
(ผูกมิตรกับมหาอำนาจหนึ่งไว้คานอำนาจมหาอำนาจอื่น)
ธรรมะข้อ 8. อวิหิงสา การนำความคิดการอ่านและวิธีการแบบตะวันตกเข้ามาใช้ในเมืองไทย
ความไม่เบียดเบียน การมี ขณะนั้นเกิดอุปสรรค คือ ข้าราชการชั้นสูงส่วนมาก และข้าราชการ
พระราชอัฌชาสัยกอปรด้วย ประเภทอนุรักษ์นิยม ยังนิยมการปกครองแบบเก่า โดยเห็นว่าประชาชนอยู่
พระราชกรุณา ไม่ทรงปรารถนา ดีกินดีอยู่แล้ว มีบุคคลน้อยมากที่เข้าใจในเหตุผลของพระองค์ ที่ทรงต้อง
จะก่อทุกข์แก่ผู้ใด ให้ลำบากด้วย เปลี่ยนแปลงแก้ไขการปกครองแบบเก่าไปเป็นแบบตะวันตก ซึ่งถ้ามีผู้ไม่
เหตุอันไม่ควรกระทำ. เห็นชอบในพระบรมราโชบายที่จะเปลี่ยนแปลง ย่อมจะเป็นอุปสรรคในการ
แก้ไขปรับปรุงประเทศ และก็จะเกิดความขัดแย้ง ก่อให้เกิดความทุกข์แก่
ผู้คนรอบข้างขึ้น ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงทรงดำเนินพระบรมราโชบายในการ
ปกครองประเทศ เป็นสายกลาง มีลักษณะผสมผสานระหว่างตะวันตกและ
ตะวันออก แม้ในส่วนของพระมหากษัตริย์ ก็เป็นพระมหากษัตริย์ลักษณะ
ที่เป็นทั้งแบบตะวันตก เป็นสิ่งประดับให้ดูมีอารยธรรมยิ่งขึ้น และแบบ
ตะวันออก คือ การวางพระองค์ดังบิดาของประชาชน
ธรรมะข้อ 9. ขันติ การที่พระองค์ทรงยอมเสียขัตติย-มานะ พระเกียรติยศไม่แสดงแสนยานุภาพ
ความอดทน มีพระราชหฤทัย ปกป้องพระราชอาณาเขต ด้วยสงครามตามแบบพระมหากษัตริย์ในสมัย
ดำรงมั่นในขันติ มีความอดทนต่อ ก่อน เพื่อแลกกับเอกราชที่มีค่าเหนือสิ่งอื่นใด ทั้งที่เป็นสิ่งที่พระองค์ทรง
สิ่งที่ควรอดทน และทรงมี ต้องอดกลั้นและขมขื่นพระราชหฤทัยมิใช่น้อย
พระขันติเมตตากรุณาธิคุณ. เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย