Page 231 - kpi15476
P. 231
230 การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15
ทศพิธราชธรรม หรือ พระราชกรณียกิจและเหตุการณ์ที่สอดคล้อง
คุณธรรมผู้นำสิบประการ
ธรรมะข้อ 10. อวิโรธนะ ในช่วงที่พระองค์ทรงอยู่ในสมณเพศนั้น พระราชกรณียกิจที่แสดงว่า
ความเที่ยงธรรม ทรงรักษาความ ทรงเห็นความสำคัญของความเที่ยงธรรม และการรักษาความยุติธรรม
ยุติธรรมไม่ให้แปรผันจากสิ่งที่ตรง ไม่ให้แปรผันจากสิ่งที่ตรง ได้แก่การตั้งลัทธิสมณวงศ์ใหม่เรียกว่า “ธรรม
และดำรงพระอาการไม่ยินดี ยุตินิกาย หรือ นิกายธรรมยุติ” ให้ถือปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกตามพระวินัย
ยินร้าย ต่ออำนาจคติทั้งปวง หรือ เป็นการตั้งขึ้นมาเพื่อปฏิรูปพระพุทธศาสนาฟื้นฟูด้านวัตรปฏิบัติของสงฆ์
อีกนัยหนึ่ง คือความไม่ประพฤติ นอกจากนั้นภายหลังเมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์แล้ว ยังทรง
ผิดในขัตติยราชประเพณี ทรง พระราชทานเสรีภาพในการนับถือศาสนา หรือลัทธินิกายตามความสมัคร
ดำรงอยู่ในพระราชจริยาวัตรของ ใจ ซึ่งไม่ผิดต่อกฎหมายบ้านเมือง เป็นต้น
พระมหากษัตริย์อย่างแท้จริง.
3. ผลการเรียนรู้เกี่ยวกับคุณธรรมผู้นำสิบประการ ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)
คุณธรรมผู้นำ สิบประการ ค่าเฉลี่ย (X) SD ระดับการเรียนรู้
1. ทาน 4.01 0.83 สูง
2. ศีล 4.15 0.42 สูง
3. การบริจาค 4.01 0.78 สูง
4. ความซื่อตรง 4.03 0.89 สูง
5. ความอ่อนโยน 4.13 0.43 สูง
6. ความเพียร 4.69 0.23 สูง
7. ความไม่โกรธ 4.59 0.21 สูง
8. ความไม่เบียดเบียน 4.12 0.56 สูง
9. ความอดทน 4.45 0.67 สูง
10. ความหนักแน่น เที่ยงธรรม 4.38 0.54 สูง
นอกจากนั้น จากการสัมภาษณ์อาจารย์ผู้บรรยายในหัวข้อนี้ ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการ
วิจัย ได้ให้ข้อมูลว่า โจทย์ที่เป็นเป้าหมายในการบรรยายหัวข้อนี้โดยตรง คือ เรื่องความกตัญญู
อย่างไรก็ตามผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้ให้ความเห็นเพิ่มเติมว่า หากพิจารณาวิเคราะห์ตามพระราช-
ประวัติแล้วพระราชกรณียกิจของพระองค์ท่าน ครอบคลุมกับหลักทศพิธราชธรรม แต่ธรรมข้อที่
ผู้ให้ข้อมูลสำคัญเห็นว่าเด่นมาก คือเรื่อง อักโกธะ (ความไม่โกรธ) โดยให้เหตุผลสำคัญที่ว่า
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย โดยเฉพาะเรื่องธรรมะข้อ 10. อวิโรธนะ. ความหนักแน่น เที่ยงธรรม
พระองค์ท่านทรงธรรมในข้อนี้สูง เนื่องจากได้ทรงผนวชอยู่ในสมณเพศเพศนาน ทำให้มีโอกาส
ในการศึกษาและปฏิบัติพระธรรมวินัยนาน อันส่งผลต่อธรรมข้ออื่นๆ ในทศพิธราชธรรมด้วย