Page 229 - kpi15476
P. 229
22 การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15
ทศพิธราชธรรม หรือ พระราชกรณียกิจและเหตุการณ์ที่สอดคล้อง
คุณธรรมผู้นำสิบประการ
ธรรมะข้อ 3. ปริจาคะ ในขณะที่พระองค์ทรงดำรงอยู่ในภาวะของพระภิกษุถึง 27 พรรษา
การเสียสละความสุขส่วนพระองค์ พระองค์ได้เสด็จธุดงค์โดยพระบาทเป็นทางไกลไปในถิ่นต่างๆ ของประเทศ
เพื่อความสุขส่วนรวม รวมถึง ทำให้ทรงเข้าถึงประชาชน เข้าพระทัยในประชาชน ทรงทราบความต้องการ
พระราชบริจาคไทยธรรม หรือ ของประชาชนได้อย่างดี ยากที่ผู้ปกครองประเทศโดยทั่วไปจะสามารถทำได้
สิ่งของที่พระราชทานให้เป็น พระองค์ทรงใกล้ชิดกับประชาชน ทรงสนทนากับประชาชน ซึ่งจากที่
ประโยชน์ทั้งแก่ประชาชน พระองค์ทรงได้เห็นและทราบความจริงเหล่านี้ ทำให้พระองค์ทรงตระหนัก
ดีว่าเมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์แล้วจะทรงทำอย่างไร
ธรรมะข้อ 4. อาชวะ การที่พระองค์ทรงตั้งพระราชหฤทัยจะรักษาความสัมพันธ์กับนานา
การมีพระราชอัฌชาสัย ประกอบ ประเทศเป็นเมืองหน้า ทรงรับเป็นไมตรีทำหนังสือสัญญากับชาติฝรั่ง ซึ่งทำ
ด้วยความซื่อตรง ดำรงในสัตย์ ในนามของพระเจ้าแผ่นดิน และประธานาธิบดี ผู้ปกครองประเทศนั้นๆ
สุ จ ริ ต ซื่ อ ต ร ง ต่ อ พ ร ะ ร า ช เป็นความเสมอภาค ดำรงในสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อพระราชสัมพันธมิตร
สัมพันธมิตร ไม่ทรงคิดลวง ทรงใช้นโยบายการทูตเป็นเครื่องต่อรองความสำเร็จ และเมื่อไม่อาจใช้
ประทุษร้ายโดยอุบายผิดยุติธรรม. นโยบายการทูตเป็นเครื่องต่อรองกับชาติมหาอำนาจ พระองค์จำพระทัย
เสียผลประโยชน์ตามที่ชาติมหาอำนาจเรียกร้อง เพื่อรักษาส่วนรวมไว้ เช่น
การสูญเสียดินแดนเขมรส่วนนอกให้แก่ฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2406 และ
พ.ศ. 2410
ธรรมะข้อ 5. มัททวะ พระองค์ทรงตระหนักว่า ถึงเวลาแล้วที่ประเทศสยาม จะต้องยอมรับ
การมีพระราชอัฌชาสัยอ่อนโยน อิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตก และปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย
ไม่ดื้อดึงถือพระองค์แม้มีผู้ตัก เนื่องจากลัทธิจักรวรรดินิยม ได้แผ่ขยายมาถึงประเทศใกล้เคียงในเอเชีย
เตือนในบางอย่าง ด้วยความมี ตะวันออกเฉียงใต้ และในทวีปเอเชียในขณะนั้น และพระองค์ยังทรง
เหตุผลก็จะทรงพิจารณาโดย เริ่มสร้างความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างพระมหากษัตริย์กับ อาณา
ถี่ถ้วน ถ้าถูกต้องดีชอบก็ทรง ประชาราษฏร ให้เข้ากับกาลสมัย อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนในยุคนั้น
อนุโมทนา และปฎิบัติตาม พระองค์ทรงวางรากฐานให้สถาบันพระมหากษัตริย์ในแง่ความสุภาพ
อ่อนน้อม ถ่อมตน ความสำนึกในหน้าที่ของพระมหากษัตริย์ที่พึงมีต่อผู้ใต้
การปกครอง
ธรรมะข้อ 6. ตบะ เพื่อที่จะเร่งปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย รองรับอิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตก
ความเพียร การเอาพระราช พระองค์ทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจในหลายๆ ด้านไปพร้อมๆ กัน ด้วย
หฤทัยใส่ ในการปกครองพระราช พระบรมราโชบายที่มีทรรศนะไกล และด้วยความสุขุมคัมภีรภาพ อาทิเช่น
อาณาเขต และประชาชน ให้มี การปรับปรุงกิจการทหารของประเทศให้มีประสิทธิภาพและทันสมัยอย่าง
ความสุขปราศจากภยันตราย รีบด่วนพร้อมกันหลายๆ ด้าน ทั้งการจัดกำลัง การจัดหาอาวุธ การฝึก
และยุทธวิธี ปรับปรุงกองทัพบกให้เป็นหน่วยทหารแบบตะวันตก มีการ
ฝึกสอนทหาร ตามแบบอย่างทหารอังกฤษ “ทหารเกณฑ์หัดอย่างฝรั่ง” มี
เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย ทำการค้าและติดต่อกับต่างประเทศ ยอมรับความคิดเห็นใหม่ๆ เพื่อ
การแบ่งแยกเป็น กองพัน กองร้อย หมวดหมู่ มีผู้บังคับบัญชา ชั้นนายพัน
นายร้อย นายสิบ ลดหลั่นกันลงมา ด้านการต่างประเทศ ได้เปิดประเทศ
เปิดโลกทรรศน์ ศึกษาวิทยาการทูตและและการปกครองบ้านเมืองแบบ
ตะวันตก พยายามใช้นโยบายการทูตเป็นเครื่องต่อรองกับชาติมหาอำนาจ
ในด้านการคมนาคมและการสื่อสาร ทรงวางรากฐานคมนาคมสมัยใหม่