Page 512 - kpi18886
P. 512
504
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบยุทธศาสตร์ชาติผ่านการปฏิรูปรัฐธรรมนูญอย่าง
มีส่วนร่วมโคลัมเบียและมอลโดวา
การมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างเห็นได้ชัด
ประเด็นของ EPG โคลัมเบีย มอลโดวา
อย่างเป็นทางการ การเคลื่อนไหว อย่างเป็นทางการ การเคลื่อนไหว
การให้ความสนใจ การปฏิรูปของ ขบวนการนักศึกษา การประกาศเอกราช การเมืองแบบ
กับภาคปฏิบัติ Virgilio Barco ในปี 1989-90 อย่างเป็นทางการใน อัตลักษณ์ (identity
ปี 1991 politics)
การมีส่วนร่วม การจัดให้มีการลง ขบวนการเรียกร้อง แนวคิดใน ขบวนการชาตินิยม
จากล่างสู่บน ประชามติในการร่าง การลงประชามติเพื่อ รัฐธรรมนูญแบบพหุ มอลโดวา ที่แยก
รัฐธรรมนูญฉบับ “สันติภาพและ นิยมทาง ประเทศและไม่ได้
ใหม่ ปี 1991 ประชาธิปไตย” การเมือง เป็นทั้งโรมาเนียและ
รัสเซีย
กระบวนการแก้ไข รัฐธรรมนูญ การเปิดช่องให้ รัฐธรรมนูญแบบ การถกเถียงระหว่าง
ปัญหาด้วยการ แบบแบ่งปันอำนาจ กลุ่มเคลื่อนไหว แบ่งปันอำนาจ และ กลุ่มนิยมยุโรปและ
อภิปรายถกเถียง และระบบหลาย มีบทบาททาง ระบบหลาย กลุ่มนิยมรัสเซีย
พรรคการเมือง การเมืองเชิงสถาบัน พรรคการเมือง
โดยไม่ต้องผ่าน
พรรคการเมือง
(ที่มา เรียบเรียงจากกรอบการศึกษาของ Ekman and Amna, 2012)
3.1 โคลัมเบีย: ประชาธิปไตยในการจัดการความขัดแย้งและความรุนแรง
ด้วยยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมและรัฐธรรมนูญแบบแบ่งปันอำนาจ (power-
sharing)
ในเชิงประวัติศาสตร์ การปฏิรูปรัฐธรรมนูญของโคลัมเบียในปี ค.ศ. 1886
ในฐานะที่เป็นรัฐธรรมนูญที่มีอายุยาวนานที่สุดในลาตินอเมริกา โดยมีอายุกว่า
105 ปี และผ่านการแก้ไขมาแล้วกว่า 30 ครั้ง แต่ก็ต้องเผชิญปัญหาของการรวม
อำนาจไว้ในมือของประธานาธิบดี ที่ใช้กติกาตามรัฐธรรมนูญเพื่อรักษาสถานะใน
การปกครองประเทศของตนเอาไว้ในลักษณะของ “the state of siege” คือ
รัฐใช้สถาบันทางการเมืองในการจำกัดการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในการเรียกร้องความต้องการและวิพากษ์วิจารณ์นโยบายสาธารณะ ในอีก
ทางหนึ่งรัฐใช้รัฐธรรมนูญเพื่อสนับสนุนการดำเนินนโยบายของรัฐบาลมากกว่า
บทความที่ผานการพิจารณา