Page 21 - kpi20207
P. 21

20


                          อย่างไรก็ตาม เมื่อนำาประสบการณ์การจัดกระบวนการปรึกษา

                 หารือสาธารณะของต่างประเทศมาวิเคราะห์ร่วมกับบทเรียนการดำาเนินการ
                 จัดการรับฟังความคิดเห็นที่ผ่านมาของประเทศไทยแล้ว ผลการวิเคราะห์
                 ในบทที่ 8 แสดงให้เห็นถึงความจำาเป็นที่ประเทศไทยจะต้องมีการพัฒนา

                 รูปแบบของการจัดกระบวนการรับฟังความคิดเห็นในการจัดทำากฎหมาย
                 ที่เป็นระบบและสอดคล้องกับแนวทางที่ประเทศประชาธิปไตยทั่วโลก

                 ยอมรับและยึดถือปฏิบัติมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน บทที่ 9 ซึ่งเป็นบท
                 สุดท้ายของหนังสือเล่มนี้จะนำาเสนอ“ร่างรูปแบบ (model) กระบวนการ
                 รับฟังความคิดเห็นในการจัดทำากฎหมายของประเทศไทย” และชี้ให้เห็นถึง

                 ความสำาคัญของการวางโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับกระบวนการรับฟังความ
                 คิดเห็น ตลอดจนการสร้างการมีส่วนร่วมและการยอมรับของผู้เกี่ยวข้องใน

                 การผลักดันแนวคิดการปรึกษาหารือสาธารณะไปสู่การปฏิบัติอย่างบรรลุผล









































         01-142 PublicConsult_ok.indd   20                                     22/6/2562 BE   17:26
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26