Page 207 - kpi20756
P. 207
การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 21 207
ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ สร้างคุณภาพประชาธิปไตย
รายงานดัชนีชี้วัดประชาธิปไตย (Democracy Index) จัดทำโดย The Economist
Intelligence Unit หรือ EIU ได้ทำการวัดระดับประชาธิปไตยของประเทศต่างๆ ในโลก
เปรียบเทียบกัน 167 ประเทศ มีตัวชี้วัดหลัก 5 ด้าน คือ 1. กระบวนการเลือกตั้งและพหุนิยม
(Electoral process and pluralism) 2. หน้าที่ของรัฐบาล (Functioning of government) 3.
การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political participation) 4. วัฒนธรรมทางการเมือง (Political
culture) และ 5. เสรีภาพพลเมือง (Civil liberties)โดยสถานการณ์ของประชาธิปไตยไทยในโลก
ในปี ค.ศ. 2018 ประเทศไทยได้คะแนน 4.63 อันดับที่ 106 ของโลก จากทั้งหมด 167 ประเทศ
หากเปรียบเทียบกับประเทศในเอเชียและออสเตรเลีย ประเทศที่ได้คะแนนประชาธิปไตยอันดับ 1
(Functioning of government) 3.การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political participation) 4.วัฒนธรรมทาง
ในภูมิภาคนี้คือนิวซีแลนด์ ประเทศไทยได้คะแนนประชาธิปไตยอันดับที่ 20 จากทั้งหมด
การเมือง (Political culture) และ5.เสรีภาพพลเมือง (Civil liberties)โดยสถานการณ์ของประชาธิปไตยไทยใน
22 ประเทศ ประเทศไทยได้อันดับดีกว่าปากีสถานและประเทศเมียนมาร์ ประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม
โลกในปี ค.ศ.2018 ประเทศไทยได้คะแนน 4.63 อันดับที่ 106 ของโลก จากทั้งหมด167 ประเทศ หาก
ที่เรียกว่าประชาธิปไตยแบบผสม คะแนนตัวชี้วัดหลักที่ต่ำกว่า 5 หรือต่ำกว่าครึ่งหนึ่งจากคะแนน
เปรียบเทียบกับประเทศในเอเชียและออสเตรเลีย ประเทศที่ได้คะแนนประชาธิปไต
เต็ม 10 คือ คือ กระบวนการเลือกตั้งและพหุนิยม และหน้าที่ของรัฐบาล ยอันดับ 1 ในภูมิภาคนี้คือ
นิวซีแลนด์ ประเทศไทยได้คะแนนประชาธิปไตยอันดับที่ 20 จากทั้งหมด 22 ประเทศ ประเทศไทยได้อันดับดีกว่า
หากเปรียบเทียบคะแนนประชาธิปไตยของประเทศไทยสิบกว่าปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี
ปากีสถานและประเทศเมียนมาร์ ประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่าประชาธิปไตยแบบผสม คะแนนตัวชี้วัดหลักที่ต่้า
ค.ศ. 2006-2018 ประเทศไทยได้คะแนนดังนี้ ปี ค.ศ. 2006 ได้คะแนน 5.67 ปี ค.ศ. 2008
กว่า 5 หรือต่้ากว่าครึ่งหนึ่งจากคะแนนเต็ม 10 คือ คือ กระบวนการเลือกตั้งและพหุนิยม และหน้าที่ของรัฐบาล
ได้คะแนน 6.81 ปี ค.ศ. 2010 ได้คะแนน 6.55 ปี ค.ศ. 2011 ได้คะแนน 6.55 ปี ค.ศ. 2012
ได้คะแนน 6.55 ปี ค.ศ. 2013 ได้คะแนน 6.25 ปี ค.ศ. 2014 ได้คะแนน 5.39 ปี ค.ศ. 2015
หากเปรียบเทียบคะแนนประชาธิปไตยของประเทศไทยสิบกว่าปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปีค.ศ.2006-2018
ได้คะแนน 5.09 ปี ค.ศ. 2016 ได้คะแนน 4.92 ปี ค.ศ. 2017 ได้คะแนน 4.63 (อันดับที่
ประเทศไทยได้คะแนนดังนี้ ปีค.ศ.2006 ได้คะแนน 5.67 ปีค.ศ.2008 ได้คะแนน6.81 ปีค.ศ.2010 ได้คะแนน 6.55
106) และในปี ค.ศ. 2018 ได้คะแนน 4.63 เช่นกัน (อันดับที่ 106) โปรดดูรายละเอียดใน
ปีค.ศ2011 ได้คะแนน 6.55 ปีค.ศ.2012 ได้คะแนน 6.55 ปีค.ศ.2013 ได้คะแนน6.25 ปีค.ศ2014 ได้คะแนน5.39
ภาพด้านล่าง
ปีค.ศ.2015 ได้คะแนน 5.09 ปีค.ศ.2016 ได้คะแนน 4.92 ปีค.ศ.2017 ได้คะแนน 4.63 (อันดับที่ 106) และในปี
ภาพที่ 1 : ดัชนีประชาธิปไตยไทยตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2006-2017
ค.ศ.2018ได้คะแนน 4.63 เช่นกัน (อันดับที่106) โปรดดูรายละเอียดในภาพด้านล่าง
เอกสารประกอบการสัมมนากลุ่มย่อยที่ 4
ที่มา : https://infographics.economist.com/2018/DemocracyIndex/
ภาพที่ 1 : ดัชนีประชาธิปไตยไทยตั้งแต่ปีค.ศ.2006-2017
ที่มา : https://infographics.economist.com/2018/DemocracyIndex/