Page 93 - kpi21595
P. 93

Standardized
                                        Unstandardized Coefficients   Coefficients

                         Model               B        Std. Error        Beta            T        Sig.
                 อายุ                          .000          .000              -.091     -.463     .644
                    2
                 รู้จักสถาบันพระปกเกล้า        .203          .109              .056     1.862      .063

                 เข้าร่วมกิจกรรมระยะที่ 2     -.201          .315              -.036     -.638     .523
                 ช่วงอายุ 21-30 ปี            -.052          .242              -.009     -.214     .831

                 ช่วงอายุ 31-40 ปี            -.397          .234              -.083    -1.694     .091
                 ช่วงอายุ 41-50ปี             -.438          .233              -.104    -1.883     .060
                 ช่วงอายุ 51-60ปี             -.424          .234              -.101    -1.811     .070
                 อายุ 60 ปีขึ้นไป              .037          .249              .007      .150      .881

                 ระดับอาชีวะ                   .235          .264              .028      .892      .373
                 มัธยมศึกษาตอนต้น              .160          .160              .034     1.001      .317

                 มัธยมศึกษาตอนปลาย            -.142          .159              -.031     -.894     .372
                 ปริญญาตรี                     .360          .264              .048     1.364      .173
                 สูงกว่าปริญญาตรี             -.338          .437              -.027     -.772     .440

                 รับราชการ                    -.118          .365              -.013     -.322     .748
                 ธุรกิจส่วนตัว                 .100          .291              .012      .342      .732
                 เกษตรกร                      -.215          .205              -.059    -1.046     .296

                 รับจ้าง                      -.190          .214              -.043     -.887     .376
                 ลูกจ้าง                      -.007          .394              -.001     -.018     .986
                       a R Square 0.44
                       b กลุ่มอ้างอิงคือ กลุ่มที่ไม่อบรม เพศชาย อายุต่ำกว่า 20 ปี ประถมศึกษา ไม่ประกอบอาชีพ ไม่รู้จัก ไม่เข้าร่วม

                       จากตารางที่ 7 จะเห็นได้ว่ามีเพียงตัวแปรด้านโครงการปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมืองในระยะที่ 1
               เท่านั้น ที่ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์ต่อคะแนนความเป็นพลเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมี

               นัยสำคัญที่ค่า Sig. เท่ากับ .000 โดยมีค่า B เป็นบวกที่ 2.779 แสดงให้เห็นว่าโครงการปฏิบัติการเสริมสร้าง

               พลังพลเมืองในระยะที่ 1 นั้นสามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงความเป็นพลเมืองกระตือรือร้นให้แก่กลุ่มตัวอย่าง
               ที่เข้าร่วมปฏิบัติการในระยะแรกได้สูงกว่ากลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมืองในระยะที่ 2

               อย่างมีนัยสำคัญ โดยจะทำให้ผู้นั้นมีคะแนนความเป็นพลเมืองแตกต่างกันราว .45 คะแนน ซึ่งผลการวิเคราะห์

               สหสัมพันธ์จากชุดตัวแปรดังกล่าวมีความน่าเชื่อถือที่ 44% ส่วนตัวแปรด้านอื่นที่เคยมีความสัมพันธ์กับคะแนน
               ความเป็นพลเมืองตระหนักรู้ที่สูงขึ้น ประกอบด้วย ตัวแปรด้านการรู้จักสถาบันพระปกเกล้าและระดับ

               การศึกษาอาชีวะศึกษานั้นพบว่าในตัวแปรดังกล่าวไม่ได้มีความสัมพันธ์กับคะแนนความเป็นพลเมืองกระตือรือ

               ร้นที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างมีนัยสำคัญ
                       จากข้างต้นสรุปได้ว่า ผลการทดสอบสหสัมพันธ์ระหว่างความเปลี่ยนแปลงความเป็นพลเมืองกับชุดตัว

               แปรด้านเพศ ช่วงอายุ ระดับการศึกษาและอาชีพข้างต้น ชี้ให้เห็นว่าตัวแปรดังกล่าวไม่ได้ส่งผลต่อการ


                                                                                                        82
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98