Page 34 - 22373_Fulltext
P. 34
อัตราการเข้าเรียน ระดับการศึกษาขั นพื นฐานตามฐานะทางเศรษฐกิจและพื นที่ลดลง ความแตกต่างระหว่าง
คะแนนเฉลี่ย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั นพื นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระหว่างพื นที่/ภาค
การศึกษาในวิชาคณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษลดลง เป็นต้น (2) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาผ่านเทคโนโลยี
ดิจิทัลเพื่อการศึกษาส้าหรับคนทุกช่วงวัย โดยมีตัวชี วัดส้าคัญ เช่น มีระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ
การศึกษาที่ทันสมัย ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน และผู้ใช้บริการอย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพ
และสถานศึกษาทุกแห่งมีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และมีคุณภาพ เป็นต้น และ (3) ระบบข้อมูลรายบุคคล และ
สารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน เพื่อการวางแผนการบริหารจัดการศึกษา การติดตาม
ประเมินผล และรายงานผล มีตัวชี วัดส้าคัญ เช่น มีระบบฐานข้อมูลรายบุคคลที่อ้างอิงจากเลขที่บัตรประจ้าตัว
ประชาชน 13 หลัก ที่สามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมถึงการใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่าง
กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอื่น ด้านสาธารณสุข สังคม ภูมิสารสนเทศ แรงงาน และการศึกษา และ
มีระบบสารสนเทศด้านการศึกษา และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องที่เป็นระบบเดียวกันทั งประเทศ ครอบคลุม ถูกต้อง
และเป็นปัจจุบัน สามารถอ้างอิงได้ เป็นต้น
นิติยา หลานไทย (2560) แบ่งนโยบายด้านการศึกษาของคณะรัฐมนตรีในช่วงของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8-10 เมื่อพิจารณาจากความเสมอภาคได้เป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านโอกาสใน
การเข้าถึงบริการ ด้านคุณภาพการจัดบริการ และด้านทรัพยากรเพื่อการจัดบริการ ทั งแบบเสมอกัน และแบบ
เป็นธรรม แต่ให้ความส้าคัญกับความแตกต่างตามบริบททางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการศึกษาในแต่ละ
การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
ยุคสมัยโดยยึดตามแนวนโยบายพื นฐานแห่งรัฐธรรมนูญเป็นหลัก
2) ความไม่เสมอภาคทางการศึกษา ปัญหา สาเหตุ และผลกระทบจากความไม่เสมอภาคทาง
การศึกษา ความไม่เสมอภาคทางการศึกษาเกิดจากความเหลื่อมล ้าทางการศึกษาซึ่งหมายความถึง ความไม่
เท่าเทียมกันทางการศึกษาอันเนื่องมาจากคุณภาพหรือมาตรฐานของสถานศึกษา คุณภาพหรือประสิทธิภาพ
ของครู หรือฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม (ราชกิจจานุเบกษา, 2561, น.2) ความเหลื่อมล ้าดังกล่าวได้ท้าให้
เกิดปัญหาต่อเด็ก โดยเด็กที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา (underprivileged children in education) เป็นเด็กที่
มีอายุต่้ากว่า 18 ปี ที่ตกอยู่ในสภาวะที่ยากล้าบาก มีโอกาสน้อยกว่าเด็กทั่วไป และอยู่ในภาวะเสี่ยงจากการ
ได้รับการเรียนรู้ เช่น เด็กพิการ เด็กที่มาจากครอบครัวยากจน เด็กที่อาศัยอยู่ในพื นที่ห่างไกลหรืออยู่ในชุมชน
แออัด เด็กที่ต้องย้ายถิ่นตามพ่อแม่ เด็กไร้บ้าน เด็กจากครอบครัวแรงงานข้ามชาติ เด็กที่อาศัยอยู่ในสภาพ
แวดล้อม ภาษา วัฒนธรรมที่ไม่เอื ออ้านวยจนขาดโอกาสในการเข้ารับการศึกษา (Unicef, 2007; ส้านักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ อ้างถึงในด้ารง ตุ้มทอง และคณะ, 2557)
โดยทนงศักดิ์ คุ้มไข่น ้า และคณะ (2559) ได้สรุปปัญหาความเสมอภาคทางการศึกษาไว้ 4 ประการ
ได้แก่ (1) กลุ่มบุคคลที่มีข้อจ้ากัดทางร่างกายและการเรียนรู้ ได้แก่ ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกายและการเรียน
การเรียนรู้ยังขาดโอกาสที่เท่าเทียม โดยมีปัญหาความไม่เสมอภาค เช่น ผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
มีปัญหาด้านการอ่าน เขียน และการค้านวณ กลุ่มนักเรียนตาบอดยังขาดสื่อการเรียนร่วมกับเด็กปกติในวิชา
วาดเขียน (2) ปัจจัยด้านกระบวนการจัดการเรียนร่วมเกิดปัญหา อาทิ โรงเรียนขาดครูที่มีความรู้ ความเข้าใจ
และทักษะการจัดการศึกษาพิเศษ ขาดครูเฉพาะทางวิชาเอกทางคณิตศาสตร์ และภาษาไทย ขาดเทคนิคการ
สอนและอุปกรณ์ โรงเรียนเฉพาะทางของเด็กพิเศษอยู่ไกลบ้าน สภาพแวดล้อมในโรงเรียนไม่เหมาะ และ
10 วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า