Page 41 - 22373_Fulltext
P. 41

ตอบสนองความต้องการของประชาชนในพื นที่ได้ (2) Engagement as owner ด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                เป็นองค์กรที่มีความยึดโยงกับประชาชนในพื นที่มากที่สุด เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามาดูแลในเรื่อง
                การศึกษาจะส่งผลท้าให้ประชาชนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของ ซึ่งจะน้ามาสู่การร่วมกันจัดท้าเป้าหมายร่วมในการจัด

                การศึกษาระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน ชุมชน นักเรียน และผู้ปกครอง และ (3) Education for
                all and all for education เป็นการกระจายการศึกษาหรือการเรียนรู้ให้คนทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง

                และท้าให้การเรียนเหล่านั นเป็นการเรียนแบบไม่มีวันสิ นสุด (วุฒิสาร ตันไชย, 2562)

                          นอกจากนี  รัชวดี แสงมหะหมัด (2560) ได้เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา

                ผ่านบทความเรื่องความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา : คุณภาพสังคมที่คนไทยมองไม่เห็น ว่าหนึ่งในแนวทางในการ
                เสริมสร้างความเท่าเทียมทางการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยนั น จะต้องส่งเสริมให้มีการ
                กระจายอ้านาจทางการศึกษาให้มีคุณภาพ และเท่าเทียมกันระหว่างพื นที่ต่าง ๆ ภายในประเทศ รวมทั งกระจาย

                งบประมาณทางการศึกษาให้ทั่วถึงทุกพื นที่ ทั งโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนในชนบท และระดับการศึกษาต่าง ๆ

                ด้วย นอกจากนี ควรพัฒนาคุณภาพของผู้สอน และคุณภาพของโรงเรียนให้เท่ากัน  โดยรัชวดีมองว่าการลดความ
                เหลื่อมล ้าทางการศึกษาสามารถเริ่มได้จากการให้ทุกคนเข้าถึงระบบการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน

                          ส่วน กชพร วงษ์เดือน และ เพ็ญณี แนรอท (2562) ได้ศึกษารูปแบบการคัดเลือกข้าราชการครูของ

                โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบข้อเสนอแนะแนวทางการคัดเลือกข้าราชการครูของโรงเรียน
                ในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าควรให้อ้านาจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการคัดเลือกข้าราชการครู

                ของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างอิสระ เพื่อให้การจัดการศึกษานั นเป็นไปได้อย่างมี
                ประสิทธิภาพ และเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาการกระจายอ้านาจทางการศึกษาในไทย และ

                เป็นไปตามกลไกการกระจายอ้านาจ นอกจากนี เหตุผลอีกประการก็เพื่อให้ได้บุคลากรที่ตรงตามความต้องการ
                ของโรงเรียนและเข้าใจบริบทของท้องถิ่น โดยรัฐควรลดความกังวลในเรื่องการทุจริตในการสอบคัดเลือก

                เนื่องจากมีกลไกในการตรวจสอบระบบการคัดเลือก อีกทั งระบบการคัดเลือกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั น
                เป็นกระบวนการที่ท้าให้ประชาชนได้เรียนรู้และรู้สึกถึงการเป็นเจ้าของอ้านาจอธิปไตย ประโยชน์จากการให้

                ท้องถิ่นเป็นผู้จัดการคัดเลือกครูสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคือ การลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา เมื่อ
                ท้องถิ่นใดขาดแคลนบุคลากรครู สามารถด้าเนินการในการสรรหาบุคลากรได้ทันทีโดยไม่ต้องรอราชการบริหาร
                ส่วนกลางอนุมัติจัดสอบคัดเลือก ท้าให้โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั นสามารถสรรหาบุคลากร

                ได้ทันทีเมื่อต้องการ และน้ามาซึ่งการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ และลดความเหลื่อมล ้าทางด้าน           การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา

                บุคลากรครูและคุณภาพของการศึกษา

                          นอกจากนี  จงรักษ์ แสนแอ่น และคณะ (2563) ได้ศึกษาระบบการจัดการศึกษาขององค์กรปกครอง
                ส่วนท้องถิ่น และได้สรุปและอภิปรายปัจจัยที่ส่งเสริมระบบการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไว้

                7 ประการ ได้แก่ (1) ผู้บริหารองค์กรจะต้องมีวิสัยทัศน์ และภาวะผู้น้าเพื่อมุ่งไปสู่การจัดท้านโยบายและการ
                ด้าเนินนโยบายที่มีประสิทธิภาพ อีกทั งควรมีประสบการณ์ด้านการศึกษาด้วย (2) โครงสร้างองค์กรควรมีความ

                คล่องตัวเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของการท้างาน ลดขั นตอนให้สั นลงเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาให้ได้ทันท่วงที
                (3) น้าเทคโนโลยีมาใช้ในการสนับสนุนการศึกษา  (4) งบประมาณที่เพียงพอ  (5) ความพร้อมของบุคลากร ต้อง

                มีจ้านวนให้เพียงพออีกทั งต้องมีคุณภาพ  (6) จะต้องรักษาบุคลากรทางการศึกษาให้ได้ ผ่านสวัสดิการเพื่อสร้าง



                                                               วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า   17
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46