Page 40 - 22373_Fulltext
P. 40

แก้ไขปัญหา และในขณะเดียวกันปัญหาในชุมชนที่เป็นพื นการเรียนรู้ก็จะถูกแก้ไข จากที่กล่าวมาข้างต้นวุฒิสาร
              ตันไชย ได้สรุปไว้ว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรเป็นหน่วยงานที่เข้าไปจัดการดูแลในเรื่องของการศึกษา

              ต้องมีการกระจายอ้านาจให้โรงเรียนเป็นผู้จัดการหลักสูตรการเรียนการสอน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
              เป็นองค์กรให้การสนับสนุนทรัพยากรในสิ่งที่โรงเรียนต้องการ ส่วนราชการส่วนกลางนั นควรเข้ามาท้าหน้าที่
              ในฐานะผู้ก้ากับดูแล และก้าหนดมาตรฐาน


                        4) หลักในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  รัฐธรรมนูญฯ ได้ก้าหนดแนวทาง
              ในการปฏิรูปด้านการศึกษาว่า รัฐต้องลงไปดูแลเด็กตั งแต่ก่อน 2 ขวบถึงอนุบาล โดยมอบหมายให้เป็นภารกิจ

              ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการวางแผนการปฏิรูป ตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของนายกรัฐมนตรี
              ใน 8 ประเด็น ได้แก่ (1) พัฒนาคุณภาพผู้เรียนและส่งเสริมการเรียนรู้  (2) ลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา

              และยกระดับมาตรฐานการศึกษา  (3) ขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษาทั งระบบ  (4) พัฒนาครู  (5) ผลิตและพัฒนา
              ก้าลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ (6) เตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (7) ส่งเสริมการมีส่วนร่วม

              ของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษาและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ (8) ส่งเสริมระบบธรรมาภิบาลใน
              วงการการศึกษา (สมาคมพนักงานเทศบาลแห่งประเทศไทย, 2560)

                        ทั งนี วศิน โกมุท (มปป.) ได้ระบุว่าหลักการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีอยู่ด้วยกัน

              5 ประการ ได้แก่ (1) การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิตส้าหรับ
              ประชาชน ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการพัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่าง
                  การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
              ต่อเนื่อง (2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ มาตรฐาน ทั่วถึง โดยไม่เก็บ
              ค่าใช้จ่ายตามระยะเวลาที่รัฐธรรมนูญก้าหนด  (3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดการศึกษาส้าหรับบุคคล

              ซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม หรือความบกพร่องทางการสื่อสาร และการ
              เรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรือไม่มีผู้ดูแล หรือด้อยโอกาส

              ให้มีสิทธิ และโอกาสได้รับการศึกษาขั นพื นฐานเป็นพิเศษ และจัดการศึกษาส้าหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถ
              พิเศษด้วยรูปแบบที่เหมาะสม โดยค้านึงถึงความสามารถของบุคคลนั น สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษา

              แห่งชาติ (4) กระบวนการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั งร่างกาย จิตใจ
              สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการด้ารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง

              มีความสุข และ (5) กระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตส้านึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบ
              ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย

              ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
              ของประเทศชาติ รวมทั งส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และ

              ความรู้อันเป็นสากล ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ
              รู้จักพึ่งตนเอง มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง

                        5) เงื่อนไขเพื่อการพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่นโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  เงื่อนไขที่

              น้าไปสู่การจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล เรียกว่า 3E ได้แก่ (1) Enjoy Freedom
              องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเป็นอิสระ สามารถจัดสรรทรัพยากรทั ง บุคลากร นโยบาย งบประมาณ ที่มี

              ในการจัดการศึกษาได้ ซึ่งด้วยความใกล้พื นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การจัดการศึกษาจึงสามารถ




      16      วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45