Page 42 - 22373_Fulltext
P. 42
ความมั่นคง และ (7) ในการจัดการศึกษาควรจะต้องได้รับการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นประชาชน
ผู้น้าชุมชน และองค์กรวิชาการทั งในและนอกพื นที่
1.3.5 ประสบการณ์การท้างานเพื่อลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษาในต่างประเทศ
จากการทบทวนประสบการณ์การท้างานเพื่อลดความเหลื่อมล ้าทางการศึกษาในต่างประเทศซึ่งส่วน
ใหญ่เป็นโครงการระดับประเทศได้บทเรียนการด้าเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเสมอภาคทางการศึกษา
อาทิ Alight’s project model (Educate A Child (EAC) and Education Above All Foundation (EAA),
n.d.) เป็นโครงการที่เกี่ยวกับการเข้าถึงการศึกษาของเด็กที่อยู่นอกระบบการศึกษาในปากีสถาน ลักษณะที่
ส้าคัญของโครงการคือ (1) โครงการดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับแผนปฏิบัติการระดับชาติของรัฐบาลปากีสถาน
(Pakistan’s National Plan of Action 2013-2016) ทั งการจัดเด็กที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้เข้าไปอยู่ใน
ระบบการศึกษาที่มีอยู่ การจัดหาห้องเรียนเพิ่มเติม การลงทะเบียนในโรงเรียนนอกระบบแห่งใหม่ (2) การด้าเนิน
โครงการเน้นไปที่การท้าให้เด็กที่อยู่นอกระบบการศึกษาประมาณ 810,000 คนให้เข้าไปอยู่ในระบบการศึกษา
ส่วนเด็ก 80,000 คน ให้เข้าไปอยู่ในโปรแกรมการศึกษาขั นพื นฐานที่อยู่นอกระบบการศึกษา (Non Formal
Basic Education: NFBE) และอีก 160,000 คน ให้เข้าไปสู่โรงเรียนการศึกษาขั นพื นฐานที่อยู่นอกระบบ
การศึกษา ที่ตั งอยู่ในพื นที่เป้าหมาย (3) รูปแบบของโครงการเป็นการใช้กลยุทธ์ “ดัน/ดึง” (push/pull
strategy) เป็นแนวทางในการด้าเนินกิจกรรมและการแทรกแซง โดยกลยุทธ์ “ดึง” ได้แก่ การสร้างการมีส่วน
ร่วมโดยตรงจากหน่วยงานของรัฐและชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้เป็นผู้น้าในการขับเคลื่อนการลงทะเบียน การระดม
การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
ผู้ปกครอง เพื่อลงทะเบียนเด็กที่อยู่นอกระบบการศึกษา กลยุทธ์นี ด้าเนินการโดยเจ้าหน้าที่โครงการและ
เจ้าหน้าที่ของรัฐโดยร่วมมือกับชุมชนเป้าหมาย โดยกลยุทธ์ 'ดึง' จะเน้นไปที่การสร้างโรงเรียนและห้องเรียนใหม่
ในโรงเรียนที่มีอยู่ การน้าเสนอการสอนที่มีคุณภาพและการปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ดีขึ นเพื่อ
จูงใจสิ่งจูงใจแก่นักเรียน
ส่วนโครงการ Save the Children (STC) (Educate A Child (EAC) and Education Above All
Foundation (EAA), n.d.) เป็นโครงการที่สนับสนุนโดยกลุ่มประชาคมแอฟริกาตะวันออก (East African
Community: EAC) ซึ่งเป็นโครงการที่ด้าเนินการในพื นที่ทางตะวันออกของเมียนมาและไทย ลักษณะเด่นของ
โครงการคือ (1) เป็นโครงการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาอุปสรรคส้าคัญในการศึกษาของเด็กในสามชุมชน
ได้แก่ เมียนมาตะวันออก ค่ายผู้ลี ภัยในประเทศไทยและชุมชนผู้อพยพในกรุงเทพฯและแม่สอด ประเทศไทย
(2) เป็นโครงการที่แก้ปัญหาวิกฤตในการเข้าถึงการศึกษาส้าหรับเด็กในชุมชนเหล่านี ด้วยการให้ความส้าคัญกับ
ความสนใจและความต้องการด้านการศึกษาของเด็ก ด้วยการท้าให้ชุมชนเข้าใจธรรมชาติและประเภทของ
การศึกษาส้าหรับเด็กนอกโรงเรียน สนับสนุนการลงทะเบียนการศึกษาในระบบ และให้ผู้ปกครองและชุมชน
มีส่วนร่วมในการพัฒนาและให้บริการด้านการศึกษา (3) โครงการพยายามสร้างการเข้าถึง การจัดหาเงินทุน
สนับสนุนครอบครัวและสร้างต้นทุนด้านโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา การอบรมครูทั งก่อนและระหว่างการสอน
เพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนและการจัดการชั นเรียน สนับสนุนด้านการเงินแก่ครู จัดหาวัสดุอุปกรณ์ส้าหรับการ
เรียนการสอน สนับสนุนระบบการจัดการโรงเรียน โดยโครงการพยายามให้เด็กเข้าสู่ระบบการศึกษาสาธารณะ
ในประเทศนั น ๆ
18 วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า