Page 209 - kpiebook65020
P. 209
170
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
วิเคราะห์ลง ในทางกลับกัน หากมีงบประมาณและเวลาที่เอื้ออ านวย อาจพิจารณามากกว่าสามทางเลือกแต่ไม่
38
ควรเกินหกทางเลือก ในการระบุทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา
(2) ระบุผลกระทบและผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละทางเลือก
หลังจากระบุทางเลือกได้แล้ว รัฐจ าเป็นจะต้องระบุผลกระทบทั้งทางต้นทุนและ
ผลประโยชน์ที่รัฐคาดการณ์ว่าจะเกิดขึ้นหากด าเนินการตามทางเลือกนั้นๆ เพื่อจะระบุผลกระทบ สิ่งแรกที่ต้อง
ระบุคือกลุ่มผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการด าเนินการตามทางเลือก เนื่องจากการค านวณผลกระทบตาม CBA จะ
ค านวณเพียงผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทางเลือกเท่านั้น หากไม่มีการก าหนดผู้ได้รับ
ผลกระทบ ผลกระทบจากแต่ละทางเลือกอาจมีมากจนไม่สามารถค านวณได้
(3) ค านวณมูลค่าต้นทุนและประโยชน์ในแต่ละทางเลือก
เมื่อระบุผลกระทบได้แล้ว รัฐต้องระบุมูลค่าต้นทุนและประโยชน์จากแต่ละทางเลือก
การหาข้อมูลต้นทุนและประโยชน์ในแต่ละทางเลือกนั้นจ าเป็นจะต้องถูกเปลี่ยนมาเป็นมูลค่าที่สามารถ
เปรียบเทียบกันได้ ตามหลักการ CBA ต้นทุนและประโยชน์จะต้องถูกเปลี่ยนเป็นจ านวนเงิน (Monetization)
39
วิธีการในการหาตัวเลขของต้นทุนและผลประโยชน์อาจท าได้ดังต่อไปนี้
(3.1) Related-Market Method
วิธีการนี้เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการค านวณต้นทุนและประโยชน์ โดยผู้
ค านวณจะต้องศึกษาราคาสิ่งที่มีมูลค่าอยู่แล้วในตลาดเพื่อน ามาค านวณ เช่น ต้นทุนของการห้ามจ าหน่ายสุรา
หลังเที่ยงคืนต่อผู้ขายสุรา คือ ยอดขายลดลง 50 ขวด คิดเป็นราคาขวดละ 1,000 บาท ดังนั้นต้นทุนของ
ทางเลือกนี้ต่อผู้ขายสุราคือ 50,000 บาท
(3.2) Stated Preference Method (Willingness to Pay)
Willingness to Pay (WTP) เป็นวิธีการที่นิยมใช้ในการค านวณต้นทุนและ
ผลประโยชน์ที่ไม่ได้มีราคาอยู่ในตลาด โดยรัฐมักจะท าแบบส ารวจ (survey) เพื่อสอบถามผู้มีส่วนเกี่ยวข้องถึง
ราคาที่เต็มใจจะจ่ายหรือได้รับเพื่อแลกกับการจัดท าหรือไม่จัดท านโยบาย วิธีการนี้จะท าให้รัฐได้รับข้อมูลตาม
ความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรง แต่มีข้อเสียเนื่องจาก WTP มักไม่ได้ขึ้นกับความต้องการอย่างเดียว
แต่ขึ้นกับฐานะทางการเงินของผู้เกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน เช่น ผู้มีฐานะร่ ารวยมักมี WTP ในการจัดท าบางนโยบาย
มากกว่าผู้ที่มีฐานะทางการเงินต่ ากว่า
(3.3) Revealed Preference Method
วิธีการนี้มักใช้กับการค านวณต้นทุนและประโยชน์ในกรณีที่ต้นทุนและ
ผลประโยชน์ไม่ได้เกิดขึ้นกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรง เช่น ต้นทุนของการห้ามจ าหน่ายสุราหลังเที่ยงคืนส่งผล
ต่อผู้ซื้อและผู้ขายสุราโดยตรง ต้นทุนจึงสามารถค านวณได้จากราคาและจ านวนสุราที่ขายในตลาด อย่างไรก็
38 เพิ่งอ้าง.
39 Anthony E Boardman, Cost-Benefit Analysis : Concepts and Practice. 4th ed, (Prentice Hall: Pearson,
2011), p.406.