Page 206 - kpiebook65020
P. 206

167
                                                                                     รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
                                    โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”

               ประชาชนหรือไม่  แนวคิดดังกล่าวสอดคล้องกับแนวคิดการจัดท าการวิเคราะห์ต้นทุน (Cost-Benefit
               Analysis)

                              OECD  ระบุว่าขั้นตอนในการจัดท า RIA  นั้นสามารถแบ่งได้เป็นสองขั้นใหญ่ นั้นคือ ขึ้น

               ประเมินความจ าเป็นในการออกกฎหมายและขั้นประเมินความคุ้มค่าของกฎหมายเมื่อได้เปรียบเทียบ
               ผลกระทบของกฎหมายกับนโยบายทางเลือกอื่น ๆเพื่อน าไปสู่การตัดสินใจว่าทางเลือกใดจะมีประสิทธิภาพ
               สูงสุด โดย OECD มีข้อเสนอในการวางแผนการจัดท า RIA เป็นขั้นตอนดังต่อไปนี้

                              1.  ก าหนดความหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบาย โดยการก าหนดความหมายและ
               วัตถุประสงค์ ควรมีการศึกษาถึงปัญหาและสภาพแวดล้อมของปัญหาอย่างถี่ถ้วน ก่อนจะมีการก าหนด

               ความหมายและวัตถุประสงค์ที่เป็นระบบและเชื่อมโยงกัน โดยควาหมายและวัตถุประสงค์จะต้องน าไปสู่
               ค าอธิบายว่าท าไมภาครัฐจึงต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการและแก้ไขปัญหา

                              2.  ก าหนดและให้ค านิยามกับทางเลือกในการด าเนินการ โดยตัวเลือกควรมีทั้งตัวเลือกที่
               เกี่ยวข้องกับการใช้กฎและตัวเลือกที่ไม่เกี่ยวข้องกับการใช้กฎ ตัวเลือกทั้งหมดจะต้องมีหลักฐานสนับสนุนว่าจะ
               น าไปสู่จุดประสงค์ที่ถูกก าหนดไว้ในขั้นแรกได้


                              3. เก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับผลประโยชน์ ต้นทุนและผลกระทบที่เกิดจากทางเลือกแต่ละ
               ทาง

                              4. พัฒนาวิธีการควบคุมการบังคับใช้และสร้างแรงจูงใจในการท าตามทางเลือกแต่ละทาง โดย
               จ าเป็นวิเคราะห์ถึงประสิทธิภาพของการบังคับใช้และการสร้างแรงจูงใจด้วย

                              5. คิดหาวิธีการควบคุมการด าเนินการตามทางเลือกแต่ละทางรวมเพื่อให้นโยบายถูกน าไปใช้
               ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

                              6. ในระหว่างการด าเนินการจัดท า RIA ควรมีการรับฟังความคิดจากสาธารณะอยู่เสมอ และ

               ควรเปิดกว้างให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามาร่วมพัฒนาและออกแบบทางเลือกและวิเคราะห์ทางเลือก เนื่องจาก
               ข้อมูลที่ได้มาจากการรับฟังความคิดนั้นจะเป็นฐานข้อมูลส าคัญในการจัดท า RIA และในขณะเดียวกันแนวคิด
               และความเข้าใจของผู้มีส่วนได้เสียจะช่วยตรวจสอบเหตุผลและความถูกต้องของการวิเคราะห์ RIA จากมุมมอง
               ของผู้ออกกฎได้เช่นเดียวกัน ดังนั้นแล้วการท า RIA  ที่ดีจึงควรจัดท าและแก้ไปเรื่อย ๆ พร้อม ๆ กับการรับฟัง

               ความคิดเห็นแทนที่จะรับฟังความคิดเห็นหลังจัดท า RIA เสร็จเรียบร้อยแล้ว

                              อย่างไรก็ดี OECD ตั้งข้อสังเกตว่า เพื่อให้การใช้ RIA มีประสิทธิภาพสูงสุด การจัดท ารายงาน
               จะต้องมีการวิเคราะห์อย่างจริงจัง มีการให้เหตุผลเชิงประจักษ์ (evidence-based)และค านึงถึงหลักปฏิบัติที่
               สอดคล้องกับความเป็นจริง ยิ่ง RIA สามารถวิเคราะห์และท านายผลลัพธ์ในการด าเนินการของกฎหรือนโยบาย
               ได้แม่นย า การใช้งาน RIA    จะยิ่งน าไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการออกกฎหรือนโยบายมากขึ้นเท่านั้น

               นอกจากคุณภาพของตัวเนื้อหาแล้ว รายงาน RIA  ควรสอดคล้องไปเป็นส่วนหนึ่งกับวัฎจักรของนโยบาย
               (policy cycle) เพื่อให้ RIA ได้ถูกน าไปใช้ในฐานะข้อมูลเพิ่มเติมที่ช่วยการตัดสินใจด าเนินนโยบายอย่างแท้จริง
               ที่ส าคัญที่สุด การจัดท ารายงาน RIA ไม่ควรถูกมองว่าเป็นรายงานชิ้นนึงที่องค์กรผู้ด าเนินนโยบายต้องเขียนเพื่อ
               ตอบสนองความถูกต้องเชิงรูปแบบ แม้ผลลัพธ์สุดท้ายของ RIA  จะเป็นเพียงรายงานชิ้นหนึ่งแต่แท้จริงแล้วคือ

               กระบวนการในการตัดสินใจกระบวนหนึ่งที่ส าคัญจ าเป็นในวัฎจักรของนโยบายและในท้ายที่สุดการจัดท า RIA
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211