Page 42 - kpiebook65020
P. 42
3
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
อย่างไรก็ตาม บทบัญญัติในเรื่องการตรวจสอบความจ าเป็นและวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก
กฎหมายถือเป็นเรื่องใหม่ส าหรับประเทศไทย การส ารวจองค์ความรู้และทบทวนบทเรียนการด าเนินการของ
ประเทศต่าง ๆ ที่เคยมีประสบการณ์ในการจัดท ากระบวนการดังกล่าวจึงนับว่ามีความส าคัญยิ่งต่อการน าไปใช้
จัดท าฐานข้อมูลส าหรับการค้นคว้าและศึกษาวิจัยเพื่อต่อยอดความรู้ การจัดท าเป็นกรณีศึกษาและสื่อการเรียน
การสอน ตลอดจนการพัฒนาเป็นคู่มือส าหรับผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการนิติบัญญัติ ส่วนราชการ และภาค
ประชาชนที่ต้องการจัดท าหรือปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งในการจัดท าโครงการ
“องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย” เพื่อด าเนินการรวบรวมองค์
ความรู้และทบทวนบทเรียนเกี่ยวกับการด าเนินการตรวจสอบความจ าเป็นและการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจ
เกิดขึ้นจากกฎหมายเพื่อจัดท าเป็นกรณีศึกษาและสื่อการเรียนการสอนตามหลักสูตรวุฒิบัตรการวิเคราะห์การตรา
กฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย และพัฒนาเป็นคู่มือส าหรับผู้ที่ต้องการจัดท าหรือปรับปรุง
แก้ไขกฎหมาย อันจะช่วยสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายแก่
กลุ่มเป้าหมาย และช่วยส่งเสริมให้การด าเนินการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายของประเทศไทยมี
ประสิทธิภาพ
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ
1.2.1 ส ารวจองค์ความรู้และทบทวนบทเรียนการด าเนินการตรวจสอบความจ าเป็นและวิเคราะห์
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายของประเทศต่าง ๆ
1.2.2 จัดท าเป็นกรณีศึกษาและสื่อการเรียนการสอนเพื่อน าไปใช้ในหลักสูตรวุฒิบัตรการวิเคราะห์การ
ตรากฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายของส านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบัน
พระปกเกล้า
1.2.3 พัฒนาเป็นคู่มือส าหรับผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการนิติบัญญัติ ส่วนราชการ และภาคประชาชน
ที่ต้องการจัดท าหรือปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
1.3 ขอบเขตงานวิจัย
โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรา
กฎหมาย” แบ่งขอบเขตการด าเนินงานออกเป็น 3 ส่วน ดังต่อไปนี้
1.3.1 ส ารวจองค์ความรู้และทบทวนบทเรียนการด าเนินการตรวจสอบความจ าเป็นและวิเคราะห์
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายของประเทศต่าง ๆ โดยครอบคลุมประเด็นส าคัญ ดังนี้
- ความหมาย ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการออกกฎหมาย (Regulatory Theory)
- นิติเศรษฐศาสตร์ (Law and Economics)
- หลักเกณฑ์ตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การ
จัดท าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
- การวิเคราะห์ผลกระทบทางเศรษฐศาสตร์และทางสังคม
- การจัดท า Checklist
- การตรวจสอบเนื้อหาในการตรากฎหมาย