Page 43 - kpiebook65020
P. 43
4
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
1.3.2 น าองค์ความรู้จากการส ารวจในข้อ 1.3.1 จัดท าเป็นกรณีศึกษาและสื่อการเรียนการสอนและ
ทดลองใช้ในหลักสูตรวุฒิบัตรการวิเคราะห์การตรากฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายของส านัก
นวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า
1.3.3 น าองค์ความรู้จากการส ารวจในข้อ 1.3.1 และผลการศึกษาที่เกิดขึ้นจากการทดลองใช้ในข้อ
1.3.2 พัฒนาเป็นคู่มือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย
1.4 วิธีการศึกษา
การวิจัยเชิงคุณภาพโดยการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยการทบทวนวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้อง (Literature Review) ได้แก่ กฎหมาย วิจัย หนังสือ บทความ และเอกสารทางวิชาการต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560 พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 กฎที่เกี่ยวข้อง แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินผลกฎหมายและกฎระเบียบที่ยังมีผลใช้บังคับ
(Reviewing the Stock of Regulation) ของ OECD รวมถึงการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
จากผู้ทรงคุณวุฒิ
1.5 ระยะเวลาท าการศึกษา
โครงการมีระยะเวลาในการด าเนินงาน 5 เดือน นับแต่วันลงนามในสัญญา
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.6.1 ส านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า มีองค์ความรู้ในเรื่องการตรวจสอบ
ความจ าเป็นและวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายที่ทันสมัย ครบถ้วน รอบด้าน และง่ายต่อการ
เข้าถึง
1.6.2 ส านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า มีกรณีศึกษาและสื่อการเรียนการสอน
ส าหรับน าไปใช้ในหลักสูตรวุฒิบัตรการวิเคราะห์การตรากฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายของ
ส านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า
1.6.3 ส านักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย สถาบันพระปกเกล้า มีแนวปฏิบัติและข้อแนะน าส าหรับ
ผู้ปฏิบัติงานในกระบวนการนิติบัญญัติ ส่วนราชการ และภาคประชาชนที่ต้องการจัดท าหรือปรับปรุงแก้ไข
กฎหมาย
1.7 คณะที่ปรึกษา
คณะที่ปรึกษา ประกอบด้วยนักวิจัยดังต่อไปนี้
(1) รองศาสตราจารย์ ดร.สุปรียา แก้วละเอียด หัวหน้าโครงการวิจัย
(2) อาจารย์สุประวีณ์ อาสนศักดิ์ นักวิจัย
(3) นายบุญญภัทร์ ชูเกียรติ นักวิจัย