Page 75 - kpiebook65020
P. 75
36
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
ภาพที่ 4 การก าหนดกฎเกณฑ์การตรวจสอบการตัดสินใจออกกฎหมาย
ที่มา : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, “โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์ผลกระทบในการออกกฎหมาย,”
กองพัฒนากฎหมาย ส านักงานกฤษฎีกา (2557) สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2563, จาก https:// www.lawreform.go.th/
uploads/files/1574751600-5lkm1-ee09v.pdf
อย่างไรก็ดี OECD ตั้งข้อสังเกตว่า เพื่อให้การใช้ RIA มีประสิทธิภาพสูงสุด การจัดท ารายงาน
จะต้องมีการวิเคราะห์อย่างจริงจัง มีการให้เหตุผลเชิงประจักษ์ (evidence-based)และค านึงถึงหลักปฏิบัติที่
สอดคล้องกับความเป็นจริง ยิ่ง RIA สามารถวิเคราะห์และท านายผลลัพธ์ในการด าเนินการของกฎหรือนโยบาย
ได้แม่นย า การใช้งาน RIA จะยิ่งน าไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการออกกฎหรือนโยบายมากขึ้นเท่านั้น
นอกจากคุณภาพของตัวเนื้อหาแล้ว รายงาน RIA ควรสอดคล้องไปเป็นส่วนหนึ่งกับวัฏจักรของนโยบาย
(policy cycle) เพื่อให้ RIA ได้ถูกน าไปใช้ในฐานะข้อมูลเพิ่มเติมที่ช่วยการตัดสินใจด าเนินนโยบายอย่างแท้จริง
ที่ส าคัญที่สุด การจัดท ารายงาน RIA ไม่ควรถูกมองว่าเป็นรายงานชิ้นนึงที่องค์กรผู้ด าเนินนโยบายต้องเขียนเพื่อ