Page 70 - kpiebook65020
P. 70
31
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
(2) ก าหนดวัตถุประสงค์
หลังจากระบุปัญหาที่ต้องการแก้ไขได้แล้ว ขั้นต่อไปในการจัดท า RIA คือ การก าหนด
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการที่รัฐจะเข้าไปแทรกแซง โดยการก าหนดวัตถุประสงค์จะก าหนดขอบเขต
ของรัฐในการด าเนินการแก้ไขปัญหา ในการก าหนดวัตถุประสงค์จะต้องค านึงถึงปัจจัยตามหลักการ
52
S.M.A.R.T
S = Specific (เป้าหมายมีความเฉพาะเจาะจง)
M = Measurable (วัดผลได้)
A = Assignable (ก าหนดกลุ่มบุคคลและเรื่องที่จะด าเนินการอย่างชัดเจน)
R = Relevant (สอดคล้องกับสาเหตุของปัญหา)
T = Time-related (มีก าหนดเวลาชัดแจ้ง)
นอกจากการระบุวัตถุประสงค์แล้ว รัฐยังต้องก าหนดขอบเขตของการจัดท า RIA อีกด้วย
โดยหลากหลากประเทศต่างล้วนมีเนื้อหาสาระของสิ่งที่ต้องการประเมินแตกต่างกันออกไป บางประเทศนั้น
เน้นประเมินผลกระทบในทุกมิติแต่บางประเทศอาจเลือกประเมินผลกระทบทางใดทางหนึ่งเท่านั้น โปรดศึกษา
กรอบการจัดท า RIA ของหลากหลากประเทศด้านล่าง
ภาพที่ 2 กรอบการจัดท า RIA ที่หลากหลายในประเทศ OECD
ที่มา : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, “โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง การวิเคราะห์ผลกระทบในการออกกฎหมาย,”
กองพัฒนากฎหมาย ส านักงานกฤษฎีกา (2557) สืบค้นเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2563, จาก https:// www.lawreform.go.th/
uploads/files/1574751600-5lkm1-ee09v.pdf
52 เพิ่งอ้าง.