Page 352 - kpiebook65064
P. 352
302 โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
ภายในระบบอภิบาลยาจะต้องตอบโจทย์ขององค์กรและกระบวนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ
เป้าหมายดังกล่าว ซึ่งจะนำไปสู่การกำหนดบทบาท อำนาจหน้าที่ และโครงสร้างขององค์กร
ที่เหมาะสม ดังนั้นการกำหนดทิศทางนโยบายแห่งชาติด้านยาและทำให้หน่วยงานหรือกระบวนการ
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องยึดเป็นหลักการจึงสำคัญ
ในกรณีประเทศไทย ถ้าหากการกำหนดทิศทางนโยบายแห่งชาติด้านยาควร
มุ่งเน้นแบบประเทศที่มีรายได้ระดับกลางที่เน้นการให้ประชาชนคนยากจนเข้าถึงยาจำเป็นที่มี
ราคาถูก ขณะที่เปิดโอกาสให้คนมีรายได้สามารถเข้าถึงยาที่มีราคาสูงได้ การมีนโยบายที่สามารถ
ควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อให้บริการได้อย่างทั่วถึง และพัฒนาภาคอุตสาหกรรมยาสามัญใน
ประเทศเพื่อผลิตยาที่มีคุณภาพในราคาถูก อาจทำให้ประเทศไทยต้องกำหนดบทบาทและอำนาจ
หน้าที่ของหน่วยงานที่สอดคล้องกับทิศทางดังกล่าว เช่น การมีหน่วยงานที่มีอำนาจในการต่อรอง
ราคาและการควบคุมราคายาในกรณีของยาจำเป็นที่มีราคาแพงควบคู่ไปกับการอาศัยกลไกตลาดใน
หน่วยงานที่มีอ านาจในการต่อรองราคาและการควบคุมราคายาในกรณีของยาจ าเป็นที่มีราคาแพงควบคู่ไปกับ
กรณีของยาที่มีผู้ผลิตมากและแข่งขันสูง หรือการออกแบบระบบประกันสุขภาพที่สอดคล้องกับ
การอาศัยกลไกตลาดในกรณีของยาที่มีผู้ผลิตมากและแข่งขันสูง หรือการออกแบบระบบประกันสุขภาพที่
ความต้องการของคนยากจนและคนที่มีทางเลือก หรือการออกแบบการทำงานของสำนักงาน
สอดคล้องกับความต้องการของคนยากจนและคนที่มีทางเลือก หรือการออกแบบการท างานของส านักงาน
คณะกรรมการอาหารและยาที่เน้นการสนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมยาสามัญในประเทศ
คณะกรรมการอาหารและยาที่เน้นการสนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมยาสามัญในประเทศ เป็นต้น
เป็นต้น
แผนภาพที่ 8.2: หลักสำคัญในการวางเป้าหมายนโยบายระบบอภิบาลยา
แผนภาพที่ 8.2: หลักส าคัญในการวางเป้าหมายนโยบายระบบอภิบาลยา
ที่มา: Seiter, Andreas. (2010). A practical approach to pharmaceutical policy. Washington DC:
ที่มา: Seiter, Andreas. (2010). A practical approach to pharmaceutical policy. Washington DC: World Bank, p. 2.
World Bank, p. 2.
2. การปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ และนโยบายที่เกี่ยวข้องกับยาทั้งหมดให้ทันสมัยและมีส่วนร่วม
จากทุกฝ่าย
จากการศึกษาพบว่ากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระบบอภิบาลยามีความเสี่ยงจากความล้าสมัยของ
บทที่ 8
กฎหมายในด้านนี้เช่น พระราชบัญญัติยาพ.ศ. 2510 ที่มีอายุการใช้งานนานถึง 47 ปี และมีข้อก าหนดเกี่ยวกับ
สถาบันพระปกเกล้า
การขึ้นทะเบียนต ารับยาล้าสมัย เป็นต้น ซึ่งจากการสัมภาษณ์จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนเห็นตรงกันในเรื่อง
ความล้าสมัยของพระราชบัญญัติยาพ.ศ. 2510 โดยในการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ไขความเสี่ยงที่มีต่อ
ธรรมาภิบาลของระบบอภิบาลยาจะไม่สามารถด าเนินการปรับปรุงได้อย่างสมบูรณ์ หากไม่ได้รับการปรับปรุง
แก้ไขกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องด้วยเพื่อให้เกิดการก ากับดูแลที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งการแก้ไข
และทบทวนกฎหมายฉบับต่าง ๆ ควรเกิดจากการมีนโยบายแห่งชาติด้านยาที่ก าหนดทิศทางระบบอภิบาลยาที่
ชัดเจน เนื่องจากกฎหมายและระเบียบจะเป็นตัวก าหนดโครงสร้าง บทบาท อ านาจหน้าที่ และแนวทางปฏิบัติ
ขององค์การและคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับระบบยาว่าควรไปในทิศทางใด โดยคณะผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ
เกี่ยวกับการปรับปรุงกฎหมายแลระเบียบให้สอดคล้องกับหลักนิติรัฐ (Rule of Law) ดังนี้
- ควรก าหนดกรอบเวลาการทบทวนกฎหมายและระเบียบที่ชัดเจน คือ กฎหมายและระเบียบที่
เกี่ยวข้องกับยาส่วนใหญ่เป็นเรื่องทางเทคนิคและวิชาการ ดังนั้นเพื่อให้กฎหมายและระเบียบมี
8-11