Page 206 - kpi15476
P. 206

การประชุมวิชาการ
                                                                                          สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15   205


                      แล้วได้ 219 พรรษา” (ปรีชา ช้างขวัญยืน, 2542, น.131) ส่วนแนวคิดราชาปราชญ์นั้น จะเห็น
                      ได้ว่า เพลโตมิได้ยกตัวอย่างให้เห็นความเป็นราชาปราชญ์ของบุคคลใดบุคคลหนึ่งให้เห็นเป็นพิเศษ

                      การอธิบายเป็นแต่เพียงการชี้ให้เห็นถึงภาพของนักปกครองที่ควรจะเป็นเท่านั้น ในแง่นี้ จึงส่งผล
                      ให้บุคคลผู้เป็นราชาปราชญ์ยังคงมีความเป็นนามธรรมค่อนข้างมาก


                            หลังจากที่ได้กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างแนวคิดธรรมราชาและแนวคิดราชาปราชญ์ไป
                      แล้ว ต่อมาจึงจะได้กล่าวถึงความเหมือนกันของแนวคิดทั้งสอง เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้เกิดขึ้น

                      อันจะนำไปสู่การต่อยอดในการศึกษารายละเอียดของแนวคิดทั้งสองต่อไป โดยแม้ว่า แนวคิด
                      ธรรมราชาและแนวคิดราชาปราชญ์จะเกิดขึ้นคนละบริบทของสังคม แต่แนวคิดทั้งสองก็ยังมีส่วนที่
                      เหมือนกันอยู่ด้วย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะแนวคิดทั้งสองเป็นแนวคิดที่มุ่งค้นหาผู้ปกครองที่ดีให้กับ

                      สังคม อันเป็นความปรารถนาของมนุษย์ในทุกสังคม ซึ่งความเหมือนกันของแนวคิดทั้งสองมีดังนี้

                                แผนภาพ แสดงลักษณะความเหมือนกันของแนวคิดธรรมราชาและราชาปราชญ
                             แผนภาพ แสดงลักษณะความเหมือนกันของแนวคิดธรรมราชาและราชาปราชญ์






                                                      นักปกครอง-ประชาชนอยูเคียงคูกัน

                                                    นักปกครองดํารงอยูในฐานะเปนที่เคารพ



                                                             ประโยชนสุข


                                ธรรมราชา                       สวนรวม                     ราชาปราชญ



                                                     ความรูความสามารถของนักปกครอง

                                                        คุณงามความดีของนักปกครอง

                                                    คค  วสห





                              จากแผนภาพ จะสังเกตเห็นวงกลมที่อยูตรงกลาง เขียนขอความวา “ประโยชนสุขสวนรวม”  ซึ่งขอความ
                            จากแผนภาพ จะสังเกตเห็นวงกลมที่อยู่ตรงกลาง เขียนข้อความว่า “ประโยชน์สุขส่วนรวม”
                 ดังกลาวนับเปนความเหมือนกันของผูที่เปนธรรมราชาและราชาปราชญที่มีความชัดเจนมากที่สุด เนื่องจากแนวคิด
                      ซึ่งข้อความดังกล่าวนับเป็นความเหมือนกันของผู้ที่เป็นธรรมราชาและราชาปราชญ์ที่มีความชัดเจน
                      มากที่สุด เนื่องจากแนวคิดทั้งสองเป็นแนวคิดที่นักคิดแต่ละท่านต่างคิดขึ้นมาเพื่อหวังที่จะสร้างตัว
                 ทั้งสองเปนแนวคิดที่นักคิดแตละทานตางคิดขึ้นมาเพื่อหวังที่จะสรางตัวแบบของผูปกครองที่ดีใหเกิดขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อ
                      แบบของผู้ปกครองที่ดีให้เกิดขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อสร้างประโยชน์สุขให้กับส่วนรวม ดังนั้น ทั้งธรรมราชา
                 สรางประโยชนสุขใหกับสวนรวม ดังนั้น ทั้งธรรมราชาและราชาปราชญจึงตองมีจุดมุงหมายที่จะสรางประโยชน   เอกสารประกอบการประชุมกลุ่มย่อย
                      และราชาปราชญ์จึงต้องมีจุดมุ่งหมายที่จะสร้างประโยชน์สุขให้กับส่วนรวมด้วย มิใช่การทำเพื่อ
                 สุขใหกับสวนรวมดวย มิใชการทําเพื่อตนเอง ดังจะเห็นไดจากหลักธรรมขอตางๆที่มีอยูในทศพิธราชธรรมและ
                 จักรวรรดิวัตรแตละขอที่มุงเนนใหผูปกครองกระทําตนใหเปนคุณประโยชนตออาณาประชาราษฎร ไมขมเหง

                 ประชาชนใหเกิดความเดือดรอน สวนหลักคิดของเพลโตนั้นก็จะเนนที่ความยุติธรรมของผูปกครองเชนเดียวกัน ซึ่ง

                 หากสังเกตใจความที่ธรรมราชาและราชาปราชญมีเหมือนกันขอดังกลาวแลว ก็จะทําใหเราสามารถสังเกตเห็นความ
                 เหมือนกันอีก 4 ประการไดงายขึ้น เพราะการที่ทั้งธรรมราชาและราชาปราชญจะเปนผูที่บําเพ็ญประโยชนเพื่อ

                 สวนรวมใหสําเร็จลุลวงไดอยางสมบูรณแบบนั้น ยอมตองอาศัยคุณสมบัติที่มีเหมือนกันทั้งสี่ประการนี้ในการชวย

                 ใหพระองคสามารถบรรลุเปาหมายที่ตั้งไวได โดยคุณสมบัติทั้งสี่ประการไดแก
                               ประการแรก นักปกครองและประชาชนเปนสิ่งที่อยูเคียงคูกัน ดังจะเห็นไดจากแนวคิดเกี่ยวกับราชา

                 ปราชญของเพลโต ที่ไดกลาวไววา ความยุติธรรมจะเกิดขึ้นไดก็ดวยการที่ชนชั้นทั้ง 3 สวน นั่นคือ นักปกครอง



                                                                                                               10
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211