Page 36 - 22373_Fulltext
P. 36

โรงเรียนขนาดเล็กมีครูจ้านวนน้อย ครูไม่ใช่คนในพื นที่ มีภาระงานมาก และโรงเรียนไม่ได้มีผู้บริหารตัวจริง ท้า
              ให้โรงเรียนขาดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง  (2) การถูกตราบาป (Stigmatization) ส้าหรับการศึกษา อาทิ การ

              วินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ที่ผิด (False positive) กลุ่มนักเรียนหญิงในโรงเรียนมัธยมสอน
              ศาสนา เมื่อตั งครรภ์ถูกให้ออกจากโรงเรียน  (3) คนชายขอบ (Marginalization group) อาทิ ปัญหาค่านิยม
              ทางด้านเพศภาวะของท้องถิ่นท้าให้เด็กผู้หญิงที่เป็น LD ไม่ได้รับการพัฒนา โรงเรียนขนาดเล็กได้รับการจัดสรร

              งบประมาณ และจ้านวนครูตามจ้านวนนักเรียน เยาวชนในเขตชายแดนภาคใต้ที่เกเร ติดยา ออกจากโรงเรียน

              แต่ไม่ถูกส่งเข้าบ้าบัด และเรียนต่อ  (4) เกิดองค์กรที่อ่อนแอ (Weaker sector) อาทิ โรงเรียนที่ไม่มีผู้บริหารตัว
              จริง ครูจบไม่ตรงเอก และขาดครูการศึกษาพิเศษ แต่ต้องมาสอนเด็กพิเศษ โรงเรียนจึงกลายเป็นองค์กรที่
              อ่อนแอ


                        3) แนวทางการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น ้า และคณะ (2559) ได้
              เสนอแนวทางการส่งเสริมความเสมอภาคทางการศึกษาขั นพื นฐานไว้ 3 ประการ ได้แก่ (1) การพัฒนาบุคลากร

              เฉพาะและการจัดท้าโปรแกรมหรือสื่อการเรียน ได้แก่ การพัฒนาผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการศึกษาพิเศษใน
              กลุ่มนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้ครูสามารถจัดการศึกษาพิเศษ คัดกรอง จัดท้าแผน

              Individualized Plan (IEP) ให้ค้าปรึกษาแก่ครูคนอื่น ๆ การจัดท้าอัตราก้าลังครูตามสัดส่วนนักเรียน และการ
              จัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน โดยเฉพาะในกลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนต้องการมีครูให้ครบชั น โดยควรมี

              การสร้างเครือข่ายร่วมกับชุมชน นอกเหนือจากที่ภาครัฐสนับสนุน อาทิ ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                  การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
              สตรี ผู้สูงอายุ การสร้างโปรแกรมการเรียน แผนการสอน และอุปกรณ์การสอนเฉพาะในวิชาทัศนศิลป์ การวาด

              ภาพในเด็กบกพร่องทางการมองเห็น (2) การพัฒนาโครงการเฉพาะปัญหา อาทิ พัฒนารูปแบบการป้องกัน
              ความเสี่ยงจากตัวนักเรียน อาทิ การเสริมพลังอ้านาจนักเรียน ให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบประชาธิปไตยจาก
              ประสบการณ์ตรงของนักเรียน รูปแบบการป้องกันความเสี่ยงจากผู้ปกครอง (3) การเสริมความเข้มแข็งของ

              หุ้นส่วนชุมชน (Strengthening partnership though community participation and self-reliance) เป็น

              การพัฒนาการศึกษานอกห้องเรียน อาทิ เครือข่ายสหสาขาวิชาชีพ และชุมชนวิจัย LD ได้แก่ แพทย์ พยาบาล
              เทคนิคการแพทย์ร่วมกับครู ผู้ปกครองในการพัฒนากระบวนการวินิจฉัยที่รวดเร็ว ถูกต้องชัดเจน การสร้าง
              เครือข่ายโรงเรียน ครอบครัว ชุมชนในการดูแลนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ พัฒนาความเข้าใจ

              ของชุมชน และส่งเสริมผู้ปกครองให้เข้าใจถึงข้อจ้ากัด และความบกพร่องของเด็ก การสร้างเครือข่ายความ

              ร่วมมือพหุภาคีเพื่อเพิ่มขนาดของโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนขนาดเล็ก ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจ ทุ่มเท
              เสียสละจากทุกภาคส่วน โดยการปรับวิธีคิดใหม่ว่าการจัดการศึกษาเป็นหน้าที่ของทุกคน รูปแบบการป้องกัน
              ความเสี่ยงของกลุ่มเยาวชนจากผู้ปกครอง และชุมชน อบต. โรงเรียน สาธารณสุข อาสาสมัครชุมชน อสม.

              อพปร. ต้องร่วมกันจัดท้าโครงการแก้ปัญหาเยาวชนแบบชุมชนมีส่วนร่วม

                        ส่วนด้ารง ตุ้มทอง และคณะ (2557, น. 135-138) ได้มีข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหา

              เด็กด้อยโอกาสในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา ได้แก่ (1) การจัดการศึกษาที่มีความยืดหยุ่น สอดคล้องกับ
              สภาพสังคม วัฒนธรรมที่แตกต่างกันของเด็กและสภาพบริบทชุมชนเพื่อเพิ่มโอกาสส้าหรับเด็กด้อยโอกาสมากขึ น

              มีความยืดหยุ่นในการจัดการเรียนการสอน เช่น เอกสารหลักฐานในกรณีของเด็กไร้สัญชาติ การจัดการศึกษา
              ตามอัธยาศัยส้าหรับเด็กยากจน เป็นต้น (2) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคีเครือข่ายทางสังคมอย่างจริงจัง





      12      วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41