Page 35 - 22373_Fulltext
P. 35

จ้านวนผู้เรียนมาก โรงเรียนที่มีเด็กพิเศษจะถูกลดเกณฑ์การสอบคะแนน O-Net จึงท้าให้โรงเรียนละเลยการ

                ยืนยันการวินิจฉัยเด็กให้ถูกต้อง และละเลยต่อการประสานให้ครอบครัวดูแลนักเรียนให้ได้รับการศึกษาที่
                เท่าเทียม  (3) ปัจจัยค่านิยมของชุมชนด้านเพศภาวะ ท้าให้ขาดความเสมอภาคของชายและหญิง อาทิ เยาวชน

                หญิงที่ตั งครรภ์ต้องถูกออกจากโรงเรียนกลางคัน เยาวชนที่ติดสารเสพติด และมีปัญหาทะเลาะวิวาท ต้องออก
                จากโรงเรียน ขาดระบบประสานงานที่ดี และไม่ถูกส่งไปบ้าบัดในหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ  (4) ปัจจัยทาง

                เศรษฐกิจ และบริบททางสังคม ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจของพ่อแม่ไม่ดี จึงต้องได้สิทธิว่าเด็กเป็นผู้มีความบกพร่อง
                เพื่อให้ได้สวัสดิการ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคมและค่านิยม ท้าให้เกิดปัญหาโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก

                ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ท้าให้นักเรียนออกกลางคันไปช่วยท้างาน

                          ทั งนี สาเหตุของความเหลื่อมล ้าทางการศึกษาซึ่ง เปรื่อง กิจรัตน์ภร (2555) ระบุว่า ความเหลื่อมล ้า
                ทางการศึกษาไทยเกิดจากสองสาเหตุหลัก ๆ ได้แก่ (1) ความเหลื่อมล ้าจากสภาพทางสังคมไทย ได้แก่ ความ

                เหลื่อมล ้าจากฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัว ความเหลื่อมล ้าจากภูมิล้าเนา สภาพแวดล้อม และ

                ภูมิล้าเนาของเด็ก เช่น เมืองกับเมืองเล็กหรือชนบท ความเหลื่อมล ้าจากสภาวะและวัฒนธรรมในครอบครัว
                และ (2) ความเหลื่อมล ้าจากการจัดการศึกษาชาติ ได้แก่ ความเหลื่อมล ้าจากการจัดสรรงบประมาณ และ
                ก้าลังคนทางการศึกษายังขาดความเสมอภาค ความเหลื่อมล ้าจากการจัดสรรอัตราครู และบุคลากรทางการ

                ศึกษาที่ยังคงมีปัญหาการขาดแคลนครูในบางท้องที่ ความเหลื่อมล ้าจากระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา
                ที่เน้นการตรวจวัดเอกสารมากกว่าคุณภาพ


                          นอกจากนี  ด้ารง ตุ้มทอง และคณะ (2557, น. 134-135) และอัญมณี บูรณากานนท์, 2553
                อ้างถึงใน ด้ารง ตุ้มทอง และคณะ 2557, น. 135)  ได้ทบทวนวรรณกรรมและพบว่า สภาพอุปสรรค และ

                ปัญหาในการด้าเนินนโยบายในการแก้ไขปัญหาเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษาซึ่งน้ามาสู่ความเหลื่อมล ้าที่ส้าคัญ
                มีอยู่ 4 ประการ ได้แก่ (1) ขาดการประสานงานร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั งภาครัฐและเอกชนในการจัด

                การศึกษาเพื่อเด็กด้อยโอกาส เนื่องจากปริมาณ และความซ ้าซ้อนของพันธกิจที่หน่วยงานต่าง ๆ ทั งภาครัฐ
                และเอกชนต่างแยกกันรับผิดชอบดูแล ปัญหาขาดการบูรณาการที่ดีตั งแต่ระดับของการส่งต่อข้อมูลเด็กด้อย

                โอกาสทางการศึกษา การร่วมการด้าเนินการทั งด้านการจัดการเรียนการสอน สวัสดิการสังคม และบริการ
                สาธารณะที่เกี่ยวข้อง (2) การจัดสรรงบประมาณในการจัดการศึกษาส้าหรับเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา การ
                จัดสรรงบประมาณยังไม่เป็นไปตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย (3) สังคมไทยยังขาดความตระหนักและ

                การให้ความส้าคัญกับเด็กด้อยโอกาสทางการศึกษา ท้าให้มาตรฐานการดูแลกลุ่มเด็กเหล่านี ไม่ได้รับความสนใจ           การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา

                เท่าที่ควร ทั งในระดับของผู้ก้าหนดนโยบายและผู้ปฏิบัติ ท้าให้การก้าหนดนโยบายและมาตรการในการ
                ช่วยเหลือไม่ครอบคลุม และไม่มีประสิทธิภาพ และ (4) ขาดการท้าแผนกลยุทธ์เชิงปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม
                และสามารถน้าไปสู่การปฏิบัติจริงได้ และขาดการติดตามผลการด้าเนินงานอย่างต่อเนื่อง ท้าให้การด้าเนิน

                กิจกรรม และโครงการเพื่อเพิ่มโอกาสให้แก่เด็กกลุ่มนี ขาดความต่อเนื่อง

                          ส้าหรับผลกระทบจากความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษา ทนงศักดิ์ คุ้มไข่น ้า และคณะ (2559)

                ระบุว่า ผลกระทบจากความไม่เท่าเทียมกันทางการศึกษาว่ามี 4 ประการ ได้แก่ (1) ไม่มีความเสมอภาคในการ
                เรียน (Educational inequality) และการเข้าไม่ถึง (Inaccessibility) อาทิ เด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ขาด

                ครูเฉพาะทาง และโปรแกรมการเรียนการสอนเฉพาะ เด็กตาบอดขาดสื่อการเรียนในการเรียนร่วมกับเด็กปกติ



                                                               วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า   11
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40